Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ : กลุ่มอาการเหนื่อย - Coggle Diagram
การวินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจ : กลุ่มอาการเหนื่อย
ข้อมูลทั่วไป
ชายไทยอายุ 19-20 ปี
อาการสำคัญ
ไข้ เเน่นหน้าอก 2 ชม. ก่อนมารพ.
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
7ปีมมีประวัติพ่นยาเป้นระยะๆ เวลาไอเจ็บหน้าอกร่วมด้วย
2 เดือนก่อนมารพ. มีอาการไอตอนกลางคืน ไม่เหนื่อย น้ำหนักลด 2 กก.
2-3วัน หายใจปีกจมูกบาน ไอมากตอนกลางคืน แน่นหน้าอกเวลาไอ
2 ชม. ก่อนมา รพ. มีไข้ หายใจไม่ออก ปีกจมูกบาน เหงือออก
การตรวจร่างกาย
ผิวหนัง ปลายมือปลายเท้าเขียว
ปาก ไอ้แห้ง มักไอเวลากลางคืน
ทรวงอก แน่นหน้าอก หายใจไม่ออก
แขน ขา เดินไม่ได้ อ่อนแรง
สุขภาพทั่วไป อ่อนแรง รูปร่างผอม
T = 37.7 องศาเซลเซียส P = 112-116 ครั้ง/นาที RR = 28-30 ครั้ง/นาที Oxygen sat 95%
Problem list
Disease: ผู้ป่วยเป็น Asthma มีประวัติแพ้อากาศเมื่อมีอากาศเปลี่ยนแปลง หายใจเหนื่อย ปีกจมูกบาน อัตราหายใจ 28-30 ครั้ง/นาที
Illness: วิตกกังวลกับโรคที่เป็นอยู่และมีอาการกำเริบเป็นช่วงๆ
Idea: รับรู้ว่าตนเองป่วย ต้องพ่นยาสม่ำเสมอ ช่วงหลังมารดาคิดว่าหายขาดจึงไม่มาตรวจตามนัด
Function: ตอนเหนื่อยหอบ ทำให้ทำกิจวัตรประจำวันและออกแรงได้น้อยลง
Expection: ไม่อยากให้อาการหอบกำเริบ สามารถดูแลตนเองที่บ้านได้ ไม่ต้องนอน รพ.
ปัจจัยกระตุ้น Exacerbation
จากตำรา
การสัมผัสกับสารก่อภูมิแพ้
การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ ภาวะทางอารมณ์ เช่น เครียด
โรคกรดไหลย้อน การออกกำลังกาย พันธุกรรม
ตัวผู้ป่วย
ชอบเล่นกีฬา และมักมีอาการกำเริบเมื่อทำกิจกรรมมากขึ้น และมีพันธุกรรมเป็นโรคหอบหืด
ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของสังคม
ปัจจัยการรับรู้
การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหอบหืด
การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรคหอบหืด
การรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรคหอบหืด
การรับรู้อุปสรรคของการปฏิบัติพฤติกรรมการป้องกันโรคหอบหืด
แรงสนับสนุนทางสังคม
การสนับสนุนด้านอารมณ์
การสนับสนุนด้านสิ่งของและบริการ
การสนับสนุนด้านข้อมูลข่าวสาร
การสนับสนุนด้านการยอมรับและเห็นคุณค่า
ความรู้สึกต่อการเจ็บป่วย
ถูกแยกให้อยู่คนเดียวและรู้สึกโดดเดี่ยว
รู้สึกว่าทำกิจกรรมต่างๆ ได้ไม่เต็มที่ เนื่องจากกลัวมีอาการกำเริบ
รู้สึกเหนื่อยที่ต้องคอยพกยาพ่นและพ่นยาตลอดเวลาที่มีอาการ
รู้สึกท้อแท้ เพราะเป็นโรคที่รักษาไม่หายขาด
รู้สึกอายและด้อยกว่าผู้อื่น รู้สึกว่าตนเองเป็นภาระของคนอื่น
Tentative Diagnosis
Asthma
อาการแย่ลงหลังออกกำลังกาย
อาการดีขึ้นหลังได้รับยาขยายหลอดลม
ไอมีเสมหะ ฟังปอดมีเสียง Wheezing
หายใจปีกจมูกบาน ไอแห้ง ไอมากเวลากลางคืน
แน่นหน้าอกเวลาไอมา 2-3 วัน
หายใจมี retraction
Pleural Effussion
หายใจถี่ หายใจลำบาก
ฟังปอดได้ยินเสียง Crepitation ทั้ง 2 ข้าง
เจ็บหน้าอก มีไข้ 37.7 องศาเซลเซียส
ไอแห้ง
COPD
หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก
Tuberculosis
ไข่ต่ำ ๆ ไอแห้ง แน่นหน้าอก
2เดือนก่อนไอตอนกลางคืน ไม่เหนื่อยหอบ
Pneumonia
ไอมีเสมหะ เจ็บหน้าอก ไข้ต่ำๆ
Thyroid Crsis
เหนื่อยง่าย อ่อนแรง น้ำหนักลด
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การตรวจวัดการอุดกั้นของทางเดินหายใจด้วย spirometry เช่น การวัด FEV หรือการวัด PEF ด้วยเครื่อง peak flow meter
ตรวจ x-ray
ตรวจคลื่นหัวใจ
การวัดการเปลี่ยนแปลงสมรรถภาพของปอดก่อนและหลังการสูดดมละออง Methacholine ที่เรียกว่า methacholine challenge test
การดูแลผู้ป่วย Asthama exaerbartion
ประเมิน สังเกตอาการ
ไอ หายใจลำบาก
เสียงวี๊ด อกบุ๋ม
ตื่นมาไอตอนเวลากลางคืน
ให้ Inhaled RABA 2-4 puffs/dose ซ้ำได้ 3 ครั้ง โดยให้ห่างกัน 20 นาที
อาการดีขึ้นอย่างน้อย 4 ชั่วโมงหรือ PEF > 80% ให้ inhaled RABA 2-4 puffs ทุก 1-2 ชั่วโมง
นัดพบแพทย์ภายใน 1-2 สัปดาห์ เพื่อติดตามการรักษาต่อไป
ข้อวินิจฉัย
เสี่ยงต่อภาวะเนื้อเยื่อในร่างกายได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเนื่องจากการหดเกร็งของหลอดลม
ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลม และสังเกตผลข้างเคียงของยา
ประเมินภาวะพร่องออกซิเจนและบันทึกสัญญาณชีพ
ดูแลให้ออกซิเจน จัดท่านอนศีรษะสูง แนะนำการไออย่างมีประสิทธิภาพ สังเกตอาการขาดออกซิเจน
วิตกกังวลเกี่ยวกับภาวะของโรคที่เป็นอยู่ เนื่องจากกลัวสูญเสียภาพลักษณ์
สร้างสัมพันธภาพกับผู้ป่วย ประเมินความเครียดโดยใช้แบบประเมิน ST5
เปิดโอกาสให้ผู้ป่วยระบายความรู้สึก และซักถามปัญหาต่างๆ อธิบายให้ผู้ป่วยเข้าใจเกี่ยวกับภาวะของโรค และแผนการรักษา
แนะนำการปฏิบัติตนที่ถูกต้อง ตามแผนการรักษา
สนับสนุนให้ญาติได้มีส่วนร่วมในการแก้ปัญหาของผู้ป่วย
การพยาบาล
ห้องฉุกเฉิน
ประเมินความรุนแรง ตรวจร่างกาย
ดูค่า PEE
ประเมิน SCAS
แยกกลุ่มอาการ
กลุ่มอาการรุนแรง
กลุ่มอาการไม่รุนแรง