Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
:star:การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนนระยะคลอด :star: - Coggle Diagram
:star:การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนนระยะคลอด :star:
มดลูกปลิ้น (Uterine inversion)
ความหมาย
ภาวะที่มดลูกปลิ้นตลบเอาผนังด้านในออกมาอยู่ด้สนนอกหรือโผล่ออกมาทางช่องคลอด
ชนิด
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์
พ้นปากมดลูก
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์และเคลื่อนต่ำลงมานอกปากช่องคลอด
มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์
ยังไม่พ้นปากมดดลูก
สาเหตุ
รกเกาะแน่นแบบ Placenta accrete
สายสะดือสั้นจนดึงรั้ง
การทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
การเพิ่มแรงดันภายในช่องท้องอย่างรวดเร็วและรุนแรง
มีพยาธิสภาพที่มดลูก
S & S
ตรวจภายในจะคลำได้ก้อนเนื้อบริเวณปากมดลูกช่องคลอดหรือก้อนโผล่ออกมานอกช่องคลอด
จะมีอาการปวด ช็อก ตกเลือดทางช่องคลอดอย่างเฉียบพลัน และมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง
ยอดมดลูกเป็นแอ่งคล้ายปล่องภูเขาไป
ในรายที่เรื้อรังผนังมดลูกเยื่อบุมดลูกจะแห้ง และเป็นแผลทำให้เกิดตกขาว เลือดออกกระปริบกระปรอย
อาการปวดหลังถึงอุ้งเชิงกรานและถ่ายปัสสาวะขัด หรือรู้สึกถ่วงที่ช่องคลอด
การรักษา
ให้สารน้ำเป็น RLS 120 cc/hr
ดันมดลูกกลับเข้าโพรงมดลูกภายใต้ยาระงับความรู้สึก/ยาคลายกล้ามเนื้อ
ให้ oxygen เป็น mask with bag 8- 10 LPM
เมื่อมดลูกกลับเข้าที่เดิมแล้วฉีด Mwthergin หรือ Oxytoxin ให้มดลูกหดรัดตัว
ภาวะรกค้าง รกติด
ภาวะรกค้าง
ภาวะที่รกไม่คลอดภายใน 30 นาทีหลังจากทารกคลอด
ผลกระทบ
ต่อมารดา
เกิดการติดเชื้อหลังคลอดได้ เนื่องจากชิ้นส่วนของรกตกค้างภายในโพรงมดลูก หรือจากการล้วงรก
มีภาวะเสี่ยงสูงต่อการถูกตัดมดลูกทิ้ง เนื่องจากรกฝังตัวลึกกว่าปกติ
ตกเลือดหลังคลอด เนื่องจากรกไม่ลอกตัว และมดลูกหดรัดตัวไม่ดี
กรณีถูกตัดมดลูก (hysterectomy) จะทำให้หมดโอกาสที่ตั้งครรภ์ต่อไป
ต่อทารก
ทารกได้รับความอบอุ่นจากมารดาล่าช้า
การเสริมสร้างสัมพันธภาพระหว่างมารดาและทารกล่าช้า
การรักษา
ให้ยาเพื่อให้เกิดการคลายตัวของปากมดลูก
รกไม่สามารถคลอดออกมาได้
ช่วยเหลือด้วยการล้วงรก
ให้ยาช่วยกระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
รกติด
ภาวะที่รกมีการฝังตัวลึกกว่าชั้นปกติ
ชนิด
placenta increta ชนิดที่ trophoblast
ฝังตัวลึกผ่านลงไปถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
แต่ไม่ถึงชั้นซีโรซา(serosa)
placenta percreta ชนิดที่ trophoblast
ฝังตัวลึกทะลุชั้นกล้ามเนื้อมดลูกจนถึง serosa
placenta accreta ชนิดที่ trophoblast
ของเยื่อบุมดลูกอาจทั้งหมดหรือเพียงบางส่วน
แต่ไม่ผ่านลงไปถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก
ฝังตัวลงไปตลอดชั้นสปอนจิโอซา (spongiosa)
ปัจจัยเสี่ยง
เคยมีรกติดแน่นในครรภ์ก่อน
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหลายครั้ง
ตั้งครรภ์หลายครั้ง
รกเกาะต่ำ
มารดาอายุมาก
เคยมีแผลผ่าตัด ที่ตัวมดลูกหรือเคยขูดมดลูกมาก่อน
S & S
ไม่มีอาการแสดงของรถลอกตัว หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่ชัดเจนระยะหลังคลอด 30 นาที
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังคลอด
มีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวนมาก ภายหลังรกคลอด
ตรวจพบว่ามีบางส่วนของเนื้อรก หรือ membrane ขาดหายไป
มารดามีอาการกระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็นซีด เหงื่อออก ความดันโลหิตลดต่ำลง ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึ่งเป็นอาการช็อค
การรักษา
รกไม่คลอดนานเกิน 30 นาที พิจารณาให้ oxytocin 10 ยูนิต เข้ากล้ามเนื้อ และทำ controlled traction หากทำแล้วรกยังไม่คลอดรายงานแพทย์เพื่อล้วงรก
การพยาบาล
ติดตามประเมินการติดเชื้อและภาวะตกเลือด
ประเมิน HF lochia ติดตามV/S
ภายหลังล้วงรกประเมินการหดรัดตัวของมดลูก จำนวนเลือดและสัญญาณชีพ เพื่อประเมินภาวะตกเลือด และดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง