Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์, image, image, การแพร่ (Diffusion) มี2แบบ…
การลำเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
จำแนกออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ คือ
1.การลําเลียงสารโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์
1.1) การลําเลียงโดยผ่านเยื่อหุ้มเซลล์และไม่ใช้พลังงานจากเซลล์ (Passive transport)
การแพร่ธรรมดา (Simple diffusion)
การแพร่แบบฟาซิลิเทต (Facilitated diffusion)
ปัจจัยที่มีผลต่อการแพร่
ขนาดอนุภาคของสาร
ระยะทางที่สารจะแพร่ในหนึ่งหน่วยเวลา
สถานะของตัวกลางที่สารจะแพร่ผ่าน
อุณหภูมิ
สถานะของสาร
ความดัน
ความแตกต่างของความเข้มข้นสารระหว่าง 2 บริเวณ
การออสโมซิส (Osmosis)
การออสโมซิสจะมีผลทำให้รูปร่างของเซลล์เปลี่ยนแปลง ดังนี้
Isotonic solution
Hypertonic solution
Hypotonic solution
1.2) การลําเลียงสารผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยใช้พลังงานจากเซลล์ (Active transport)
มีการเคลื่อนที่จากบริเวณที่มีความหนาแน่นน้อยไปสู่บริเวณที่มีความหนาแน่น
มากกว่าโดยอาศัยพลังงานในรูป ATP จากเซลล์และมีการใช้โปรตีนตัวพา เช่น
การดูดกลับสารที่ท่อของหน่วยไต
การสะสมกลูโคสเพื่อเปลี่ยนรูปเป็นไกลโคเจนของเซลล์ตับ
การดูดซึมสารอาหารของเซลล์เยื่อบุผนังลําไส้เล็กเมื่อความเข้มข้นของสารอาหารตํ่ากว่า
2.การลําเลียงสารไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์โดยการสร้างถุงจากเยื่อหุ้มเซลล์
2.1 การนําสารเข้าสู่ภายในเซลล์ (Endocytosis)
มี 3 วิธี คือ
พิโนไซโทซิส (Pinocytosis หรือ Cell Drinking)
การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ (Receptor-Mediated Endocytosis)
ฟาโกไซโตซิส(Phagocytosis หรือ Cell Eating)
2.2 การเคลื่อนที่แบบออกจากเซลล์ (Exocytosis)
เป็นการเคลื่อนที่ของสารที่มีขนาดโมเลกุลใหญ่ออกจากเซลล์ โดยสารเหล่านั้นจะบรรจุอยู่ในเวสิเคิล(Vesicle) จากนั้นเวสิเคิลจะค่อยๆ เคลื่อนเข้ามาเชื่อมรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์ทำให้สารที่บรรจุอยู่ในเวสิเคิลถูกปล่อยออกสู่นอกเซลล์ เช่น การหลั่งเอนไซม์และฮอร์โมนต่างๆ
ความสําคัญของการลําเลียงสารเข้าและออกจากเซลล์
เป็นวิธีการที่เซลล์ได้อาหาร ก๊าซ และสารอื่น ๆ ที่จําเป็นต่อการดํารงชีวิตของเซลล์
ทําให้ร่างกายหรือตัวสิ่งมีชีวิตดํารงชีพอยู่ได้ตามปกติ
ทําให้เซลล์สามารถรักษาคุณสมบัติต่าง ๆ ภายในเซลล์ให้ค่อนข้างคงที่เสมอ ซึ่งช่วยให้เซลล์ดํารงสภาวะอยู่เป็นปกติดี
การแพร่ (Diffusion)
มี2แบบ คือ