Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่ มีปัญหาทางระบบประสาท, นางสาวสิรินทิพย์…
บทที่ 11 การพยาบาลเด็กที่
มีปัญหาทางระบบประสาท
ชักจากไข้สูง
ชนิดของการชักจากไข้สูง
Primary febrile convulsion
(ไม่มีความผิดปกติของสมอง)
Secondary febrile convulsion
(มีความผิดปกติของสมอง)
การรักษา
ระยะที่กำลังมีอาการชัก
ชักเกิน 5 น. ต้องทำให้หยุดชักเร็วที่สุดโดยให้ยาระงับอาการชัก
เช่น diazepam ทางหลอดเลือดดำหรือทางทวารหนัก
ให้ยาลดไข้ร่วมกับ เช่น ตัวลดไข้
ระยะหลังชัก
ซักประวัติตรวจร่างกายโดยละเอียดให้ยาป้องกันการชัก
โรคลมชัก
สาเหตุการชัก
ได้รับอันตรายจากการคลอด
พันธุกรรม
Developmental and degenerative disorders
โรคติดเชื้อของสมอง
รอยโรคในสมองที่ทำให้เซลล์ประสาท
หลั่งคลื่นไฟฟ้าสมองผิดปกติ
Metabolic และ Toxic etiologies
แบ่งชนิดตามลักษณะอาการ
Partial seizure
ชักกระตุกเฉพาะที่
Generalized seizure
Primary generalized epilepsy
ไม่มีความผิดปกติในระบบประสาท
Secondary generalized epilepsy
มีความผิดปกติในระบบประสาท
การรักษา
รักษาโดยการใช้ยาระงับอาการชักและยาป้องกันการชักซ้ำ
รักษาตามสาเหตุที่วินิจฉัยได้
รักษาด้วยอาหารKetogenic diet คืออาหารที่มีสัดส่วนไขมันสูง
การฝังเครื่องกระตุ้นไฟฟ้า
คำแนะนำสำคัญสำหรับผู้ปกครอง
ให้เด็กรับประทานยากันชักต่อเนื่องทุกวันนานอย่างน้อย 2 ปี
ห้ามหยุดยาเอง แนะนำวิธีการป้องกันอุบัติเหตุขณะชัก
มาตรวจตามนัดเพื่อแพทย์ประเมินอาการ
และปรับระดับยากันชักให้เหมาะสม
ชักจากการติดเชื้อของ
เยื่อหุ้มสมองหรือเนื้อสมอง
Meningitis
อาการและอาการแสดง
อาการแสดงของการ
ระคายเคืองของเยื่อหุ้มสมอง
คอแข็ง (Stiffness of neek)
Kernig’s sign ได้ผลบวก
Brudzinski’s sign ได้ผลบวก
ปวดศีรษะมาก ซึมลง กระหม่อมโป่งตึง อาเจียน ชัก
การรักษา
การรักษาเฉพาะ คือ ให้ยาปฏิชีวนะที่สอด
คล้องกับผลการเพาะเชื้อน้ำไขสันหลังที่เป็นสาเหตุ
การรักษาตามอาการ
การป้องกันควรฉีดวัคซีน
สาเหตุ
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อไวรัส
พยาธิ
เชื้อรา
Encephalitis
อาการและอาการแสดง
ไข้สูง
ปวดศีรษะ
ปวดบริเวณต้นคอ คอแข็ง
ซึมลง จนถึงขั้นโคม่าได้ภายใน 24-72 ชม.
ชัก มีการเคลื่อนไหวผิดปกติ
กระสับกระส่าย อารมณ์ผันแปร เพ้อ คลั่ง อาละวาด
การหายใจไม่สม่ำเสมอ
การรักษา
ให้ออกซิเจน,เจาะคอ หรือใช้เครื่องช่วยหายใจ
การให้ยา
รักษาสมดุลของปริมาณน้ำเข้า-ออก ของร่างกาย
สาเหตุ
เชื้อไวรัส
เชื้อแบคทีเรีย
เชื้อรา
เชื้อปาราสิต
ปฏิกิริยาต่อวัคซีน
โรคไข้สมองอักเสบ
การป้องกัน
หลีกเลี่ยงไม่ให้ถูกยุงกัด ยุงนี้จะกัดเวลาพลบค่ำ
ไม่ควรเลี้ยงหมูในบริเวณใกล้บ้านที่อยู่อาศัย
ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน 3 ครั้ง
การรักษา
ต้องให้การดูแลรักษาเฉพาะใน Intensive care unit
ให้ยาลดไข้ ลดการบวมของสมอง ระงับอาการชัก
การตรวจวินิจฉัย
ตรวจแยกเชื้อไวรัส เจอี จากเลือดตรวจหา IgM antibody
หลักการพยาบาลผู้ป่วยที่มีอาการชัก
จัดให้ผู้ป่วยนอนราบ ตะแคงหน้าไปข้างใดข้างหนึ่ง
ไม่ผูกรัดหรือตรึงผู้ป่วย ขณะชักเพื่อป้องกันกระดูกหัก
ทำทางเดินหายใจให้โล่ง โดยการดูดเสมหะ
ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตรงตามแผนการรักษาในรายที่หายใจขัด
ขณะชักให้งดอาหาร น้ำ ทางปาก ตามแผนการรักษา
เตรียมไม้กดลิ้นไว้ที่โต๊ะข้างเตียงในรายที่มีอาการชักเกร็ง
ดูแลให้ได้รับยากันชัก ยาคลายกล้ามเนื้อตรงตามแผนการรักษา
ดูแลให้ได้รับยาระงับอาการชักตรงตามแผนการรักษาในรายที่มีอาการชักนาน
ขณะที่ผู้ป่วยชัก ควรป้องกันอันตรายจากการเกิดอุบัติเหตุ
อาการและอาการแสดง
มีไข้
ปวดเมื่อย
อ่อนเพลีย
ปวดศีรษะมากขึ้น
อาเจียน
ง่วงซึมจนไม่รู้สึกตัว
ชักกระตุก
หายใจไม่สม่ำเสมอ
การให้คำแนะนำและเตรียมความรู้
ให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะโรค
แนะนำวิธีการปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยมีไข้
แนะนำวิธีปฏิบัติเมื่อผู้ป่วยเกิดอาการชัก
แนะนำการดูแลให้ยากันชัก และผลข้างเคียงของยา
นางสาวสิรินทิพย์ เหล่าสมบูรณ์
เลขที่ 38 รุ่น 36/2
612001119