Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ
induction of labor
ข้อบ่งชี้
ข้อบ่งชี้ทางศัลยกรรม
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์(PIH)
ภาวะครรภ์เกินกําหนด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์(DFIU)
PROM ในรายที่GA> 34 wks และไม่เข้าสู่ระยะคลอดเองภายใน 12 hrs
การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ (choroamnionitis)
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกลอกตัวก่อนกําหนด(abruptio placenta)
ทารกพิการแต่กําเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
ทารกภาวะบวมน้ำ(hydrops fetalis)
ทารกเจริญเติบโตช้า (IUGR)
ข้อบ่งชี้ทางอายุรกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
ข้อห้ามในการชักนําการคลอด
Placenta previa
vasa previa
ทารกท่าขวาง CPD
Previous c/s
Twins
Fetal distress
Prolapsed cord
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
complications
ต่อมารดา
uterine rupture จากการได้รับยากระตุ้นU/C
Antepartum Hemorrhage จาก Abruptio Placentae
ตกเลือดจากการฉีกขาดของช่องทางคลอดจากปprecipitate labor
การติดเชื้อของเยื่อบุถุงน้ำคร่ำ
เกิดการอุดตันในกระแสเลือดจากน้ำคร่ำ (Amniotic fluid embolism; AFE)
ต่อทารก
preterm
fetal distress
อันตรายจากการเจาะถุงน้ำคร่ำอได้แก่ cord polapse, การเจาะถูก vasa previa
precipitate labor อาจทำให้เกิดอันตรายจากการทำคลอดและในทารกที่pretermมีอุบัติการณ์เลือดออกในสมองสูง
infectionจากการเจาะถุงน้ำคร่ำ และถุงน้ำคร่ำติดเชื้อ
วิธีชักนำการคลอด
Medical
นิยมใช้Oxytocin และ prostaglandins
การพยาบาล
เตรียมอุปกรณ์เครื่องใช้ในการให้สารละลายทางหลอดเลือดดํา
เตรียมสารละลายoxytocin ตามRx. และช่วยแพทย์ในการให้ทางหลอดเลือดดำ
สังเกตลักษณะการหดรัดตัวของมดลูก
ตรวจสอบการหยดของoxytocin q 30min
สังเกตสภาวะของทารกในครรภ์โดยฟังFHSเป็นระยะๆ q 15-30min หากทารกในครรภ์มีภาวะ Fetal distress ต้องหยุดให้oxytocinทันทีและรายงานแพทย์
ดูแลสภาวะทั่วไปของมารดาโดย Check BP, P, R เป็นระยะๆ
ดูแลผู้คลอดให้ได้รับความสุขสบายทั้งร่างกายและจิตใจ
record
ขนาดและจํานวนของ oxytocin q 30min
จํานวนของหยดของoxytocinที่ปรับขึ้นหรือลดลง
ลักษณะของ U/C q 15-30min
obs. v/s q 2-4hrs. และ FHS q 15-30min
record I/O
Oxytocin 10 unit in 5% D/W 1000 cc 8-10 drop/min นาน 15min แล้วเพิ่ม 4-5 drop/ 30min เพื่อเกิด Good Uterine contraction
Prostaglandin E2
ให้ใน Bishop Score >4
การใช้หัตถการ
การเจาะถุงน้ำทูนหัว (Amniotomy, Artificial rupture of membrance)
เตรียมเครื่องมือ และผู้คลอด
ก่อนแพทย์ลงมือทํา พยาบาลต้องฟังFHSและrecordไว้
ฟังFHSทันทีภายหลังเจาะถุงน้ำ
เมื่อน้ำคร่ำไหลออกมาต้องrecordเกี่ยวกับลักษณะสี และจํานวนของ Amniotic Fluid
Flushing และใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตปริมาณน้ำคร่ำ
record Interval, Duration
ผลprogess of labor
บันทึก FHS เป็นระยะๆ อาจq 15-30min
หากผิดปกติรายงานแพทย์และให้การช่วยเหลือ
บันทึก T, P, R, BP
หากมีไข้รายงานแพทยเ์พื่อให้ATB
เปลี่ยนผ้าอนามัยทุกครั้งที่น้ำหล่อเด็กเปียกชุ่มพร้อมFlushing
ทำในรายที่ Bishop Score >6
Striping of Membranes
ใช้ 2 นิ้วกวาดหมุนโดยเซาะแยกถุงน้ำ
ออกจากส่วนล่างของมดลูก
การล้วงรก : Manual removal of placenta
การพยาบาลในขั้นตอนล้วงรก
1.เตรียมความพร้อมด้านจิตใจ
6.ให้ O2 mask with bag 8-10 LMP
7.Obs. อาการมารดาขณะกำลังล้วงรก
5.ช่วยเหลือแพทย์ จัดท่า Lithotomy และทำความสะอาดอวัยวะสืบพันธุ์
4.วัด V/S
record V/S และ blood loss
เปิดเส้นให้ IVF LRS 1000ml IV drip
2.เจาะ Hct , Blood type and screening
การพยาบาลหลังล้วงรก
1.obs. v/s q 15min x 4
2.ประเมินและส่งเสริม U/C
3.เฝ้าระวัง PPH
4.ดูและให้ได้รับยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก ตาม Rx.
5.ประเมินระดับความรู้สึกตัว เฝ้าระวังcomplicationต่างๆ
S&S ของ retained placenta
1.กระสับกระส่าย pulseเบาเร็ว ตัวเย็น ซีด เหงื่อออก BPต่ำ ซึมลง และshock
2.bleeding per vargina จำนวนมาก
3.รกไม่ลอกตัว หรือลอกเล็กน้อย หลังคลอดภายใน15-30min
4.ไม่มี U/C
5.ตรวจพบชิ้นส่วนรกหายไป หรือบางส่วนยังค้างในโพรงมดลูก
breech assisting
ชนิดของท่ากัน
Incomplete breech
Frank breech
Complete breech หรือ double breech
อันตรายของการคลอดท่าก้น
ต่อมารดา
การฉีกขาดของช่องทางคลอด
postpatum hemorrhage
infection
ต่อทารก
การหักของกระดูกไหปลาร้า กระดูกแขนขา กระดูกซี่โครง
การเคลื่อนของข้อสะโพกและไหล่
ตับแตกม้ามแตก มักเกิดจากการจับแรงเกินไป
เลือดออกในสมอง
การติดขัดของศีรษะ
ทารกขาด oxygen
การช่วยคลอด
ทางช่องคลอด
1.Spontaneous breech delivery : ให้มารดาออกแรงเบ่งคลอดเอง
2.Partial breech extraction, breech assisting หรือ assisted breech คือ ช่วยเหลือเมื่อสะดือพ้น ปากช่องคลอด
3.Total breech extraction: โดยทำคลอดท้้งตัวได้แก่สะโพกไหล่และ ศีรษะตามกลไกการคลอด
การผ่าตัดนำทารกออกมาทางหน้าท้อง
ครรภ์แรก
อายุ > 35yrs
ตั้งครรภ์ยาก
ประวัติคลอดยาก
เชิงกรานแคบ
ทารกขนาดใหญ่ น้้าหนักเกิน3500g
เท้าเป็นส่วนนำ
ศีรษะแหงน
Post term
prolonged labor
PROM
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี
C/S
ข้อบ่งชี้
ข้อบ่งชี้ร่วม
Previous C/S
Ante partum hemorrhage
Fetal distress
ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
CPD
Total placenta previa
ท่าผิดปกติเช่น ท่าขวาง
มะเร็งปากมดลูก
การพยาบาล
ก่อนผ่าตัด
เตรียมร่างกาย
เตรียมจิตใจ
หลังผ่าตัด
ด้านร่างกาย
กิจวัตรประจําวัน
เสี่ยงต่อinfection
wound repair
complications
ด้านจิตใจ
pain
fear and anxiety
F/E
ข้อบ่งชี้
ด้านมารดา
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/มารดาไม่มีแรงเบ่ง
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบหรือ Rigid pelvic floor / Rigid perineum
ส่วนนําของทารกค่อนข้างใหญ่ หรือ Occiput อยู่ด้านหลัง หรือ Deep transverse arrest of head
ผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
มารดาอ่อนเพลีย
ผู้คลอดมีสุขภาพไม่ดีจากโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ, ไทรอยด์, หลอดลมอักเสบ
มีปัญหาเลือดออกในสมอง
appendicitis
ด้านทารก
Fetal distress
สายสะดือพลัดต่ำ
สภาวะที่เหมาะสมในการทํา
fully dilate
ส่วนนํามีสภาวะที่เหมาะสม สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะทารกต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบภาวะผิดสัดส่วนระหว่างส่วนนํากับช่องเชิงกราน
กระเพาะปัสสาวะและทวารหนักต้องว่าง
MR
ทารกยังมีชีวิต
ชนิดการทำคลอดด้วยคีม
การทําคลอดด้วยคีมเมื่อ head engagement แล้ว โดยต้องทําการช่วยเหลือโดยการหมุนก่อนเมื่อเริ่มดึง ถือว่าเป็น mid forceps
Low Forceps หมายถึง การทําคลอดด้วยคีมเมื่อเห็นหนังศีรษะที่บรเิวณอวัยวะสืบพันธุ์โดยไม่ต้องแยก Labiaและกะโหลกศีรษะอยู่บน Pelvic floor รอยต่อแสกกลางอยู่ในแนวหน้าหลัง
การพยาบาล
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง ประเมินท่า และขนาดของทารก และ U/C
ตรวจช่องทางคลอด ประเมินลักษณะของปากมดลูก
เชิงกรานมารดาและขนาดของทารก
การตรวจร่างกายทั่วไปและv/s
การประเมินสภาพทารกในครรภ์เช่น การฟังFHS
ภาวะจิตสังคม
การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอดต่อ ภาวะจิตสังคม การช่วยคลอดด้วยคีมซึ่งอาจจะมืผลต่อการปฏิบัติตัวและความร่วมมือในการช่วยคลอด
การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน เช่น การคลอดติดขัด การช่วยคลอดโดยใช้สูติศาสตร์หัตถการ ทารกเสียชีวิต จากการคลอด การเจ็บป่วยของบุคคลในครอบครัว
complications
ต่อมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทําด้วยความนุ่มนวล
ใช้คีมไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
infection
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ต่อทารก
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ
สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
คีมกด Clavical plexus จะทําให้เกิด Erb’s Palsy
คีมกด Facial nerve จะทําให้เกิด Facial Palsy
หูหนวก จากการกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
ชนิดคีมช่วยคลอดที่นิยมใช้
Piper forceps ช่วยคลอดกรณี breech presentation
simson forceps ช่วยคลอดศีรษะท่าปกติ
keilland forceps ใช้หมุนศีรษะ กระณีศีรษะไม่หมุนไปตามปกติ
ทำคลอดภาวะฉุกเฉิน
prolapsed cord
ภาวะที่สายสะดือลงมาข้างส่วนนำหรือต่ำกว่า อาจโผล่ทางปากช่องคลอด
อาการ : คลำพบเส้นนุ่ม เสียงหัวใจช้า พบ variable deceleration
สาเหตุ
malposition / CPD
เจาะถุงน้ำ/ถุงน้ำแตกเองก่อนส่วนนำลงอุ้งเชิงกราน
สายสะดือยาว , placenta previa
การทำ version
ชนิด
1.occult polapsed cord : ย้อยมาอยู่ข้างส่วนนำ **MI/MR
2.cord presentation/forelying cor : ย้อยต่ำกว่าส่วนนำ **MI
3.overt polapsed cord : ย้อยต่ำกว่าส่วนนำ **MR
การพยาบาล
เจาะถุงน้ำรายที่ส่วนนำลงอุ้งเชิงกรานและรายที่MRให้จำกัดการเคลื่อนไหว
ใช้นิ้วดันส่วนนำ **ห้ามใช้นิ้วดันสายสะดือ เพราะจะทำให้เกิด vasospasm
ใส่ NSS เพื่อดันให้ศีรษะสูง
ให้ O2 face mask 8-10LMP
จัดท่าknee chest position
rupture of uterus
มดลูกส่วนบนหรือล่าง แตกแยกออก หลังจากทารกโตหรือหลังGA 28wks
S&S
1.ก่อนมดลูกแตก
Pathological retraction ring : Bandl's ring มดลูกเป็น2ลอน
abnormal uterine contraction (tetanic) : กระวนกระวาย ปวดมดลูกมาก
2.หลังมดลูกแตกแล้ว
มีการเสียเลือดมาก มดลูกนิ่มลง ไม่หดรัดตัว ฟังFHSไม่ได้/ช้า
ชนิด
incomplete : ถึงชั้นเยื่อบุมดลูก กล้ามเนื้อมดลูก
dehiscene : แตกตามรอยแผลเดิม อาจไม่มีเลือดออกหรือออกน้อย
complete : เกิดการติดต่อระหว่างภายในโพรงมดลูกกับช่องท้อง **รุนแรง เสียชีวิต
สาเหตุ
ก่อนตั้งครรภ์
เคยผ่าตัดมดลูก/ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง
มดลูกผิดปกติแต่กำเนิด
เคยทำcurettage
ขณะตั้งครรภ์
ได้รับยากระตุ้นU/C
twins/ malposition
ตั้งครรภ์หลายครั้ง
ล้วงรก /หมุนทารก
การพยาบาล
ป้องกันไม่ให้เกิดการrupture
เตรียมC/S
ถ้าให้ยาoxytocinให้หยุดยาทันที
ถ้าช็อกให้ RLS
fetal distress
สาเหตุ
IUGR
preterm
รกเสื่อม รกเกาะต่ำ
cord polapse
ได้รับยาแก้ปวด
S&S
thick meconium
หัวใจเต้นผิดปกติ พบ late/variable
การดูแล
category 1 : ดูแลตามปกติ
category 2,3 : รายงานแพทย์ จัด่าตะแคงซ้าย หยุดให้ oxytocin ให้ oxygen high flow ติดตาม FHS
precipitate labor
การคลอดเร็วภายใน 3hrs. หรือในระยะที่ 2 ไม่ถึง 10min หรือใช้เวลาทั้งหมด 2-4hrs.
อาการ : U/C I=2' , D >75-90''
สาเหตุ
ตั้งครรภ์หลายครั้ง
abnormally strong uterine and abdominal contraction
ทารกตัวเล็ก
ผลกระทบ
ต่อมารดา
มดลูกหดรัดตัวแรง uterine rupture
uterine inversion
AFE
PPH
ต่อทารก
asphyxia
truama
meconium aspirate
ป้องกันการคลอดเฉียบพลัน และอันตรายที่อาจเกิดจากการคลอดเฉียบพลัน : ถ้าเกิดแบบ caul delivery ห้ามจับเด็กมาก ให้ฉีกถุงน้ำให้แตก จับศีรษะต่ำกว่าตัว ตะแคงหน้า ล้วงน้ำคร่ำออก
emergency delivery
ให้คลอดที่สะอาด แห้ง อบอุ่น และปลอดภัย
หนีบสายสะดือ ไม่จำเป็นต้องตัดcord
ห้ามดึงทารกและรก และห้ามหุบขา
inversion of the uterus
ภาวะที่มดลูกปลิ้นตลบเอาผนังด้านในออกมาด้านนอกและโผล่ออกมานอกช่องคลอด หรืออาจไม่โผล่
สาเหตุ
จากการทำ cord traction ขณะรกไม่ลอก
ความดันในช่องท้องเพิ่ม
สายสะดือสั้น คลอดเร็ว ผนังมดลูกบาง
ได้รับการทำ F/E
S&S
ยอดมดลูกเป็นแอ่งบุ๋ม(crete-like depression) : incomplete
ไม่พบยอดมดลูก : complete
ปวดช่องท้องรุนแรง
severe PPH
แบ่งตามระยะเวลา
acute within 24hrs.หลังคลอด
subscute หลัง24hrs. และ1monthหลังคลอด
chronic 1month หลังคลอด
prevention
ห้ามดึงสายสะดือก่อนมีsignรกลอกตัว
ห้ามกดดันยอดมดลูกลงมา
ทำให้มดลูกแข็งตัวอยู่เสมอ
ลดอาการไอจามแรงๆ
การพยาบาล
ป้องกันภาวะshock
ดูแลเรื่องpain
ทำหัตถการดึงมดลูกและให้oxytocinทันทีหลังคลอด
ถ้ามดลูกยื่นออกมาข้างนอกให้ใช้ผ้าชุบNSSห่อคลุมไว้
Amniotic fluid embolism : AFE
ภาวะที่น้ำคร่ำ cell ผม พลัดเข้ากระแสเลือดของผู้คลอด
สาเหตุ
severe contraction
MR
preterm
DFIU
uterine rupture C/S รกผิดปกติ
S&S
severe shock
พบ fibrinogenลดลง prelong PT,PTT
ตรวจ pulmonary artery พบcellปนน้ำคร่ำ
หายใจลำบาก ซีด เขียว กระสับกระส่าย หยุดหายใจ
hypotension หัวใจหยุดเต้น shock
DIC
ผลกระทบต่อมารดา
pulmonary edema
anaphylactoid reaction
cardiogenic shock
cyanosis
DIC
การพยาบาล : ทำให้ปอดและระบบหัวใจอยู่ในภาวะปกติคงที่
ให้ oxygan face mask 100% หรือ ETtube
fowler's position หรือตะแคงซ้ายร่วมหากลูก distress
ให้สารน้ำแบบ isotonic/vasopresser และให้เลือดเพื่อลด DIC
ห้าม stripping membrane เพราะทำให้หลอดเลือดดำปากมดลูกฉีกขาด
V/E
ข้อบ่งชี้ในการทำ
Mild CPD
โรคแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะ Mild fetal asphyxia ซึ่งเกิดจาก
Fetal distress
ศีรษะทารกไม่หมุนตามกลไกการคลอดปกติเช่น Deep transverse arrest of head หรือ Occiput posterior position
ข้อห้ามในการทํา
CPD
preterm
vasa previa
malposition
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกอยู่ในภาวะ Fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิด
สภาวะที่เหมาะสมในการทํา
ปากมดลูกเปิดหมด แต่ถ้าในกรณีจําเป็'นอาจทําตั้งแต่ปากมดลูกเปิด 8cmขึ้นไป และปากมดลูกมีความบางเต็มที่
ส่วนนํามีสภาวะที่เหมาะสม สามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะในครรภ์ต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่มีปัญหา CPD
กระเพาะปัสสาวะและทวารหนักต้องว่าง
MR
ทารกยังมีชีวิต
complications
ด้านทารก
อาจจะเกิด Cephal hematoma
อาจจะมีเลือดออกที่จอตาแต่จะหายได้ภายใน 1wk
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
กระทบกระเทือนต่อกระโหลกศีรษะ
สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
คีมกด Facial nerve จะทําให้เกิด Facial Palsy
หูหนวก จากการกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
ต่อมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทําด้วยความนุ่มนวล
ใช้คีมไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
infection
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
การพยาบาล
. การซักประวัติ
ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
ภาวะจิตสังคม
การประเมินfear and anxietyของผู้คลอดต่อการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศซึ่งอาจจะมีผลต่อการปฏิบัติตัวและความร่วมมือในการช่วยคลอด
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางหน้าท้อง ประเมินท่า และขนาดของทารก และ U/C
ตรวจช่องทางคลอด ประเมินลักษณะของปากมดลูก
เชิงกรานมารดาและขนาดของทารก
การตรวจร่างกายทั่วไปและv/s
การประเมินสภาพทารกในครรภ์เช่น การฟังFHS
การตรวจพิเศษและตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ก่อนทำ
เตรียมด้านจิตใจ
เตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์
ขณะทำ
เปิดเครื่องโดยลดความดันครั้งละ0.2กก/ตร.ซม. q 2min จนได้ความดัน 0.8กก/ตร.ซม.
ฟังและบันทึกFHSเป็นระยะ ถ้าผิดปกติรายงานแพทย์
จัดvaccum cupให้ใกล้ occiput มากที่สุด
ประเมินU/Cเป็นระยะและรายงานแพทย์
เตรียมความพร้อมเสมอเมื่อใช้เครื่องไม่สำเร็จ
หลังทำ
ประเมินแผลฝีเย็บและbleeding per vargina
obs. v/s q 15-30mmin ดูแลความสุขสบาย
ประเมิน U/C q 15-30min