Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
แนวโน้มหลักสูตรในศตวรรษที่ 21 - Coggle Diagram
แนวโน้มหลักสูตรในศตวรรษที่ 21
กรอบความคิดหลักสำหรับทักษะแห่งศตวรรษที่ 21
กรอบความคิดสมาคมเทคโนโลยีการศึกษานานาชาติ (ISTE, 2007)
5.3 ความเชี่ยวชาญในการค้นคว้าหาข้อมูล
5.4 การคิดเชิงวิพากษ์ การแก้ปัญหา และการตัดสินใจ
5.2 การสื่อสารและการทำงานร่วมกัน
5.5 ความเป็นพลเมืองดิจิตอล
5.1 ความสร้างสรรค์และนวัตกรรม
5.6 การใช้งานเทคโนโลยีและแนวคิด
กรอบความคิดศูนย์บริการทดสอบการศึกษา (ETS, 2007)
6.2 ความสามารถทางเทคนิค
6.3 ความสามารถด้านไอซีที
6.1 ความสามารถในการรู้คิด
สภาผู้นำแห่งชาติเพื่อการศึกษาเสรีและสัญญาของอเมริกา (LEAP, 2007)
4.2 ทักษะทางปัญญาและเชิงปฏิบัติ
4.3 ความรับผิดชอบส่วนตัวและต่อสังคม
4.1 ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมมนุษย์และโลกทางกายภาพและโลกธรรมชาติ
4.4 การเรียนรู้แบบบูรณาการ
7.กรอบความคิดของเฮนี เจงกินส์ และคณะ
7.6 การรู้คิดแบบกระจาย
7.7 การใช้ปัญญาแบบหมู่คณะ
7.5 การทำงานหลายอย่าง
7.8 การใช้ดุลพินิจ
7.4 การหยิบฉวย
7.9 การกำกับทิศทางผ่านสื่อ
7.3 การจำลอง
7.10 การสร้างเครือข่าย
7.2 การแสดงบทบาท
7.11 การเจรจา
7.1 การเล่น
กรอบความคิดของ OECD, 2005
3.2 ความสามารถด้านปฏฺิสัมพันธ์กับกลุ่มที่หลากหลาย
3.3 ความสามารถในการโต้ตอบโดยอิสระ
3.1 ความสามารถในการใช้เครื่องมืออย่างมีประสิทธิภาพ
กรอบความคิดของดีดี้
8.2 การเรียนรู้แบบมีส่วนร่วม
8.3 การแสดงออกผ่านการนำเสนอที่ไม่เป็นลำดับเชิงเส้น
8.1 ความคล่องแคล่วในการใช้สื่อหลายรูปแบบ
8.4 การร่วมออกแบบโดยครูและนักเรียน
กรอบความคิด enGauge
2.1 ความรู้พื้นฐานในยุคดิจิตอล
2.2 การคิดเชิงประดิษฐ์
2.3 การสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ
2.4 การเพิ่มผลิตผลระดับสูง
กรอบความคิด 5 จิตเพื่ออนาคต
9.2 จิตแห่งการสังเคราะห์
9.3 จิตแห่งการสร้างสรรค์
9.1 จิตแห่งวิทยาการ
9.4 จิดแห่งความเคารพ
9.5 จิตแห่งจริยธรรม
กรอบความคิดของภาคี
1.3 ทักษะการเรียนรู้และการคิด
1.4 ความรู้พื้นฐานไอซีที
1.2 เนื้อหาสำหรับศตวรรษที่ 21
1.5 ทักษะชีวิต
1.1 วิชาแกน
คุณลักษณะที่สำคัญของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21
ด้านทักษะการเรียนรู้และการคิด
3.ด้านทักษะชีวิต
ด้านความรู้
แนวโน้มหลักสูตรในศตวรรษที่ 21
เนื้อหาของหลักสูตร
2.2 ทักษะและกระบวนการเรียนรู้
2.3 ทักษะชีวิต
2.1 ความรู้
การจัดการเรียนรู้ของหลักสูตร
3.1 การจัดสภาพแวดล้อมที่ส่งเสริมการเรียนรู้
3.2 การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
วิสัยทัศน์เพื่อชาติ - โรงเรียนนักคิด ประเทศแห่งการเรียนรู้
วิสัยทัศน์เพื่อการศึกษา - สอนให้น้อยลง เรียนรู้ให้มากขึ้น
วิสัยทัศน์เพื่อการปฏิบัติ - กลยุทธิ์ตึงสลับหย่อน
วิสัยทัศน์เพื่อความร่วมมือ - ชุมชนการเรียนรู้ทางวิชาชีพ
จุดมุ่งหมายของหลักสูตร
การประเมินผลของหลักสูตร
4.2 กรอบประเมินผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 - การเรียนรู้/การเข้าใจ/การสำรวจ/การสร้างสรรค์/การแบ่งปัน
4.1 หลักการ - การประเมินที่แปรเปลี่ยนไม่ใช่ประเมินตามเงื่อนไขมาตรฐานเดียวกัน/การประเมินทั้งระดับบุคคลและทีมงาน/ การประเมินที่เปิดเผย
การให้ข้อมูลย้อนกลับจากการประเมิน