Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบทางเดินหายใจ กรณีศึกษาที่ 1 - Coggle Diagram
โรคระบบทางเดินหายใจ
กรณีศึกษาที่ 1
Plan for Treatment
Salbutamol 2.5 mg + 0.9%NSS
up to 4 ml NB Stat.
ให้ยา salbutamol ชนิดสูดพ่นยา ซึ่งสอดคล้องกับอาการเหนื่อยหอบที่ผู้ป่วยมีอาการอยู่ ให้ยาตัวนี้เนื่องจากเป็นยาที่มีฤทธิ์ในการทำให้หลอดลมที่หดเกร็ง ตีบตัว เกิดการขยายตัว ใช้บรรเทาอาการเหนื่อยหอบในผู้ป่วยโรคหอบหืด
Dexamethasone 4 mg IV Stat.
ให้ยา Dexamethasone เนื่องจากเป็นยาที่ใช้ลดอาการบวมของหลอดลม
อาการสำคัญ
หายใจไม่ออก แน่นหน้าอก 2 ชั่วโมง ก่อนมาโรงพยาบาล
Initial plan
แน่นหน้าอก
Congestive Heart Failure
Ischemic heart disease
ไข้ หายใจลำบาก
Pneumonia
Tubercuiosis
หายใจหอบเหนื่อย
Asthma
COPD
ประวัติเจ็บป่วยในอดีต
ไม่มีประวัติการผ่าตัด
มีประวัติแพ้ฝุ่น ควันไฟ ไม่แพ้ยา ไม่แพ้อาหาร
5 ปีที่แล้วมีอาการเท้าบวมเล็กน้อย จากการเล่นกีฬาหนักยุบและหายได้เอง อาการบวมหายไปเองไม่ได้เข้ารับการรักษา
ประวัติเจ็บป่วยปัจจุบัน
7 ปี ที่แล้ว มีอาการหายใจไม่ออก หอบทุกครั้งที่อาการหนาว จะมารับยาที่โรงพยาบาลตลอด
3 เดือนที่แล้ว มีอาการหอบเหนื่อย แพทย์จึงให้ admit 1 คืนและได้รับยารับประทาน คือยาลดอาการไอและยาแก้ภูมิแพ้ และยาพ่น
2 เดือนที่แล้วมีอาการไอกลางคืน ไอเเห้ง ๆ ไม่มีเสมหะ แต่ไม่เหนื่อยหอบ
2-3 วันก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ต่ำๆ ไอไม่มีเสมหะ เวลากลางคืนรู้สึก แน่นหน้าอกเวลาไอ
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล ผู้ป่วยเดินทางออกจากบ้านเพื่อไปตั้งแคมป์ ในป่ากับเพื่อนๆ และผู้ป่วยไม่ได้หยิบยาพ่นออกไปด้วย พอถึงที่แคมป์ สักพักผู้ป่วยสูดดมควันไฟ และมีอาการหายใจไม่ออก แน่นหน้าอก เหงื่อออก จากนั้นเพื่อนๆจึงพาผู้ป่วยมาส่งที่โรงพยาบาล ผู้ป่วยต้องนั่งรถเข็นมาเนื่องจากเดินไม่ไหวเพราะอาการเหนื่อย
ประวัติเจ็บป่วยของคนในครอบครัว
ตาเป็นโรคหอบหืดและโรคหัวใจ
ยายมีประวัติเป็นโรคหัวใจ
Lab ส่งตรวจเฉพาะเพื่อทำการวินิจฉัย
6.ส่งตรวจ Tuberculin skin test เพื่อยืนยันการติดเชื้อวัณโรค
7.ส่งตรวจ AFB stain เพื่อยืนยันการติดเชื้อ TB
5.ส่งตรวจ Arterial blood gas เป็นผลการตรวจค่าก๊าซในเลือดแดง
8.ส่งตรวจ EKG เพื่อดูความผิดปกติของคลื่นหัวใจ
4.การตรวจสมรรถภาพปอด (Pulmonary Function Tests)
เพื่อวัดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
3.ส่งตรวจ Sputum gram stain เพื่อดูการติดเชื้อ
ดูข้อบ่งชี้ว่ามีปัญหาเกี่ยวกับทางเดินหายใจ
9.ส่งตรวจ CT scan เพื่อดูความผิดปกติของผนังหลอดเลือด
จากไขมัน LDL สะสมที่ผนังหลอดเลือด
2.ส่งตรวจCT Chest X-ray เพื่อดูความผิดปกติของปอด
10.ส่งตรวจ Cardiac Markers
1.ส่งตรวจ CBC เพื่อดูความผิดปกติของเลือด
ช่วยในการวินิจฉัยการติดเชื้อ การอักเสบ ภาวะเลือดออกผิดปกติ
11.ตรวจดูค่า LDH เป็นเอนไซม์ที่บ่งบอกว่า
เนื้อเยื่อได้รับบาดเจ็บหรืออันตราย
Diagnosis
วินิจฉัยสุดท้ายจากการวิเคราะห์ของกลุ่มทางสมาชิกกลุ่มคาดว่าผู้ป่วยนี้น่าจะเป็น Asthma เนื่องจากจากการศึกษาทางทฤษฎีพบว่าโรค Asthma เกิดจากการมีสิ่งแปลกปลอมเข้าสู่ร่างกายและกระตุ้นให้เกิดอาการแพ้ อาการแสดงของ Asthma จากตำราจะมีอาการไอ มีเสมหะ แน่นหน้าอก หายใจไม่อิ่ม หายใจมีเสียงหวีด และเหนื่อยหอบ โดยอาการจะเป็นๆ หายๆ ส่วนใหญ่เป็นช่วงกลางคืนหรือเช้ามืด และหลังจากสัมผัสปัจจัยกระตุ้นต่างๆ ซึ่งก็สอดคล้องกับอาการและอาการแสดงของผู้ป่วยที่พบคือ ผู้ป่วยมีอาการหายใจไม่ออกมีอาการเหนื่อยหอบและแน่นหน้าอกจากการได้รับควันไฟและสัมผัสอาการเย็นจากการออกไปตั้งแคมป์และจากการตรวจร่างกายของผู้ป่วยรายนี้คือพบว่ามีอาการหอบเหนื่อย 28-30 ครั้ง/นาที ฟังเสียงปอดทั้งสองข้างพบ wheezing at upper lobe และจากผลตรวจทางห้องปฏิบัติการพบ Eosinophil = 5 % ซึ่งสูงกว่าค่าปกติ
Plan for Nursing Care
การพยาบาลผู้ป่วยใส่ ET Tube ที่ ER
5.เตรียม ET Tube และเครื่องมือต่างๆ ให้พร้อมสำหรับการเตรียมใส่ให้ผู้ป่วย
6.เตรียมรถ Emergency ไว้ใกล้เตียงผู้ป่วยเพื่อที่จะสามารถหยิบเครื่องมือในการช่วยเหลือได้สะดวก
4.เตรียม Mask with bag ไว้ เมื่อผู้ป่วยมีอาการหอบเหนื่อย
7.ใส่ ET Tube ให้กับผู้ป่วย เพื่อให้ผู้ป่วยมีการหายใจที่ดีขึ้น
3.เตรียมพ่นยา ก่อนใส่ ET Tube เพื่อให้หลอดลมขยาย
ผู้ป่วยสามารถหายใจได้ดียิ่งขึ้น
8.หลังใส่ ET Tube เพื่อตรวจสอบว่าหลังใส่เครื่อง ทั้งอาการผู้ป่วย และเครื่องมือที่ใส่ให้กับผู้ป่วย
2.ประเมินอาการหอบเหนื่อยรุนแรง หรือมีอาการที่มีความเสี่ยงต่อชีวิต
เพื่อประเมินว่าผู้ป่วยต้องการการช่วยชีวิตด่วนแค่ไหน
9.Hold ambu bag จนส่งผู้ป่วยไปถึง Word เพื่อให้ผู้ป่วยไม่ขาด O2 ในขณะที่กำลังย้ายผู้ป่วย
1.วัด Vital sign , Sat O2 แรกรับที่ ER เพื่อประเมินอาการเบื้องต้นของผู้ป่วย