Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การวินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจกลุ่มอาการเหนื่อยโดยใช้กรณีศึกษา,…
การวินิจฉัยแยกโรคระบบทางเดินหายใจกลุ่มอาการเหนื่อยโดยใช้กรณีศึกษา
ข้อมูลทั่วไปของกรณีตัวอย่างใน scenario
Physical Examination
notify แพทย์ทันทีหลังประเมินอาการและ V/S
Ventolin 1: 3 NB. Stat ตามแผนการรักษา
Expiratory wheezing both lung Intervention
monitor O2 sat ลักษณะการหายใจ
Accessory muscle use, suprasternal notch and suprasternal retraction
ข้อมูลส่วนบุคคล
ชอบเล่นกีฬาบาสเกตบอลเป็นประจำ
มีประวัติพ่นยาเป็นระยะมา 7 ปี เวลามีอาการจะมีอาการเจ็บหน้าอกร่วมด้วยแต่จะเป็นไม่บ่อย จะเป็นเฉพาะเวลาที่มีอาการเหนื่อยมากๆเท่านั้น
ผู้ป่วยไม่ดื่มสุรา ไม่สูบบุหรี่
ผู้ป่วยจะชอบไปเที่ยวป่าแต่จะไม่พกยาพ่นไปเพราะกลัวสูญเสียภาพลักษณ์
ผู้ป่วยรับประทานอาหารรสชาติจืด ไม่มีประวัติการแพ้อาหาร
น้ำหนักผู้ป่วยลดลงประมาณ 2 kg/wk
อาการสำคัญเมื่อแรกรับ
ชายไทยอายุ 19 - 20 ปี ให้ประวัติว่ามีไขต่ำ ๆ ไอแห้งๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกแน่นหน้าอกเวลาไอ มา 2-3 วัน
รู้สึกหายใจไม่ออก หายใจปีกจมูกบาน แน่นหน้าอก เหงื่อออก 2 ชั่วโมงก่อนมา ( นั่งรถเข็นมาเนื่องจากเดินไม่ไหว )
พบว่า ER รพ.ชุมชนแห่งหนึ่ง เวลา 20.00 น.
มารดาพามาที่ ER ให้ประวัติว่าลูกชายแข็งแรงดีมาตลอด แต่ประมาณ 2 เดือนที่แล้วมีอาการไอกลางคืน แต่ ไม่เหนื่อยหอบ แรกรับที่ ER
Temp 37.7 องศาเซลเซียส Pulse rate 112-116 ครั้งต่อนาที หายใจ 28-30 ครั้งต่อนาที O2 sat 95%
ข้อมูลครอบครัว
สมาชิกในครอบครัวมี 2 คน คือ ผู้ป่วย และมารดา
ตากับยายมีโรคประจำตัว คือ โรคหัวใจ โรคหอบหืด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
ประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ปฏิเสธประวัติการเจ็บป่วย
ปฏิเสธโรคประจำตัว
ปฏิเสธการแพ้ยา
ปฏิเสธการผ่าตัด
ประวัติการเจ็บป่วยในครอบครัว
ตากับยายมีโรคประจำตัว คือ โรคหัวใจ โรคหอบหืด โรคความดันโลหิตสูง โรคเบาหวาน
ประวัติการเจ็บป่วยปัจจุบัน
2-3 วัน หายใจปีกจมูกบาน ไอแห้งๆ ไอมากเวลากลางคืน เวลาไอรู้สึกแน่นหน้าอก
เวลา 20.00 น. มีไข้ต่ำ ๆ ไอแห้งๆ ไอมากเวลากลางคืน รู้สึกแน่นหน้าอกเวลาไอ
2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล มีไข้ รู้สึกหายใจไม่ออก หายใจปีกจมูกบาน แน่นหน้าอก เหงื่อออก
2 เดือนก่อนมาโรงพยาบาล มีอาการไอกลางคืน แต่ไม่เหนื่อยหอบ น้ำหนักลดลงประมาณ 2 kg/wk
7 ปีที่แล้วมีประวัติว่าพ่นยาเป็นระยะๆ เวลามีอาการไอจะมีอาการเจ็บหน้าอกร่วมด้วยแต่จะเป็นไม่บ่อย จะเป็นเฉพาะเวลาที่มีอาการเหนื่อยมาก ๆเท่านั้น
ประวัติตามระบบ
ตา :มองเห็นดี ปฏิเสธตาพร่ามัว
หู : การได้ยินปกติ
ศีรษะ : ปกติดี
จมูก : หายใจปีกจมูกบาน
ผิวหนัง : ปลายมือปลายเท้าเขียวเล็กน้อย นาน 5 วินาที มีอาการเหงื่อออก
ปาก : ไอแห้งๆไอมากเวลากลางคืน
สุขภาพทั่วไป : ชายไทย อ่อนแรง สีหน้าดูเหนื่อยไม่มีแรง คิ้วขมวด รูปร่างผอมบาง
ต่อมน้ำเหลือง : ปฏิเสธต่อมน้ำเหลืองโต
คอ : ปฏิเสธอาการคอแข็ง
ทรวงอก : หายใจแน่นหน้าอก รู้สึกหายใจไม่ออก
ระบบทางเดินอาหาร : ปฏิเสธหน้าท้องโตขยายนูนกว่าปกติ ปฏิเสธการปวดท้อง
ระบบทางเดินปัสสาวะและอวัยวะเพศ : ปฏิเสธการขับถ่ายผิดปกติ
หัวใจและหลอดเลือด : ปฏิเสธหัวใจเต้นเร็ว ปฏิเสธการเจ็บที่บริเวณหัวใจ
แขน - ขา : เดินไม่ได้ขาอ่อนแรง
ระบบประสาท : ปฏิเสธประวัติชัก ปฏิเสธอาการสั่น
ต่อมไร้ท่อ : ไม่มีอาการของเบาหวานหรือของธัยรอยด์
อาการสำคัญ
มีไข้ แน่นหน้าอก 2 ชั่วโมงก่อนมาโรงพยาบาล
ตรวจร่างกายตามระบบ( เขียนเป็นภาษาอังกฤษ )
Mouth & Throat : No chelosis , No dental caries or gingivitis , Tongue not deviated, Pharynx not injected , Tonsils not enlarged, not injected
lymphnoeds : No edema lymphnoeds
Nose : nasal flaring,mucous membrane pink . Turbinate not enlarged, not injected , no discharge. Septum not deviated.
Neck : No stiffness of neck ,No engorgement of neck vein.
Ears : no discharge, normal ear drums, no abrasion or inflammation, normal hearing, no lesion
Chest and lung
Pailpation : Lung expension not equally
Percussion : Resonance
Inspection : Accessory muscle use,suprasternal notch and supsternal retraction ,no barrel chest
Aucultation : Expiratory wheezing both lung
Eyes : No ptosis, no Squint pupils round 2 m.m. Not pale conjunctiva
Head : normal size and shape, anterior and posterior fontanel are closed Face : no edema, no rash
Skin : Normal Color for race, capillary refill 5 sec, No lesion
General appearance : Thai man, weakness ,Thin
Heart : no murmur, Pulse rate 112-116 /min
Abdomen : soft, no distension, no mass, no hepatosplenomegaly, normal bowel sound
Neuro : good consciousness
Genitalia : no hypospadias, no phimosis, bilateral descended testes
Anus : no anal fissure, normal stool
Extremities : no pitting edema, no weakness, no deformity
แผนการรักษาที่ได้รับ (Plan for treatment)
การพยาบาลในระยะนี้มีเป้าหมายที่สำคัญคือ การจัดการอาการฉุกเฉิน และการตัดสินใจรับผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล
การพยาบาลเมื่อแรกรับที่ห้องฉุกเฉิน
3.ประเมินความรุนแรงของโรคหืดกำเริบเฉียบพลันโดยใช้เกณฑ์ต่าง ๆ ซึ่งที่นิยมใช้คือ Siriraj ClinicalAsthmaScore(SCAS) โดยมีการประเมิน 5 ด้าน ได้แก่อัตราการหายใจ เสียงหวีด การดึงรั้ง (การใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ) อาการหายใจลำบาก และระดับความอิ่มตัวของออกซิเจน (oxygen saturation)
2 ตรวจสมรรถภาพปอดโดยการเป่า peakflow meter เพื่อดูค่า PEFR โดยค่าปกติขึ้นอยู่กับเพศอายุและส่วนสูง
1 ประเมินความรุนแรงของโรคจากการซักประวัติและการตรวจร่างกาย
ผลการประเมินสามารถแบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม
กลุ่มที่มีอาการไม่รุนแรง
กลุ่มที่มีอาการรุนแรง
กลุ่มที่มีอาการรุนแรง
2 ดูแลให้ได้รับยาลดการอักเสบกลุ่มสเตียรอยด์ ได้แก่ยา hydrocortisone หรือยาmethylprednisoloneโดยฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ
3 ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมกลุ่ม short actingβ2-agonists (SABA) ได้แก่ยา salbutamol พร้อมทั้งเฝ้าระวังผลข้างเคียงที่สำคัญจากยาคือ หัวใจเต้นเร็ว
1 เตรียมผู้ป่วยและอุปกรณ์เพื่อการใส่ท่อช่วยหายใจและใช้เครื่องช่วยหายใจทั้งนี้เพื่อเพิ่มออกซิเจนให้แก่ร่างกาย
4 ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษา จากนั้นย้ายผู้ป่วยไปดูแลรักษาต่อที่หอผู้ป่วยวิกฤต
กลุ่มที่มีอาการไม่รุนแรง
3 ดูแลให้ได้รับยาขยายหลอดลมกลุ่ม SABAครั้งละ 2-6 puff ในรูปของ metered dose inhaler(MDI) ร่วมกับ spacer หรือ nebulizers ตามแผนการรักษา ทุก 20-30 นาทีโดยให้ได้ถึง3 ครั้งใน 1 ชั่วโมง
4 ประเมินอาการซ้ำที่1 ชั่วโมง หากอาการดีขึ้น แพทย์จะพิจารณาอนุญาตให้กลับบ้านได้
2 ดูแลให้ได้รับยาลดการอักเสบกลุ่มสเตียรอยด์ได้แก่ยา hydrocortisone หรือยา methylprednisolone โดยฉีดเข้าทางหลอดเลือดดำ หรือยา prednisoloneชนิดรับประทาน
5 กรณีที่ผู้ป่วยมาพ่นยาที่ห้องฉุกเฉินบ่อยตั้งแต่3 ครั้งขึ้นไป ควรพิจารณาส่งผู้ป่วยพบกุมารแพทย์หรือกุมารแพทย์เฉพาะทาง
1 ดูแลให้ได้รับออกซิเจนตามแผนการรักษาในกรณีที่ผู้ป่วยมีภาวะพร่องออกซิเจนในเลือด โดยรักษาระดับความอิ่มตัวของออกซิเจนให้ได้มากกว่าหรือเท่ากับ95%
การให้คำแนะนำด้านสุขภาพ (Help for education)
2 การรักษาเมื่อมีอาการจับหืด ได้แก่การใช้ยา inhaled RABA ใน กรณีที่ไม่มียาชนิดพ่นสูด อาจพิจารณาใช้ยาขยายหลอดลมชนิดกินได้ ทั้งนี้ ต้องอธิบายให้ผู้ป่วยหรือผู้ปกครองทราบว่ายาอาจไม่ออกฤทธิ์ในทันที
3 วิธีการประเมินความรุนแรงและผลตอบสนองต่อการรักษาด้วยตนเอง
1อาการแสดงที่บ่งถึงอาการจับหืด ได้แก่ อาการไอ หายใจลำบาก หายใจหน้าอกบุ๋ม แน่นหน้าอก เพิ่มการใช้กล้ามเนื้อช่วยหายใจ หายใจเสียง ดังหวีด
4 ภาวะหรือสถานการณ์ที่ต้องไปพบแพทย์เพื่อให้การรักษาเพิ่มเติม
ผลการตรวจของห้องปฏิบัติการ (Plan for diagnosis)
2 ตรวจreversible airway obstruction โดยการตรวจวัดสมรรถภาพการทำงานของปอดก่อนและหลังการให้ยาขยายหลอดลม
3 การตรวจวัดความผันผวน (variable) ของ PEF ที่เกิดขึ้นในแต่ละช่วงวัน เช่น เช้า เที่ยง เย็นและก่อนนอนในระยะเวลา 1-2 สัปดาห์ถ้ามีความผันผวนของค่าสูงสุดกับค่าต่ำสุดมากกว่าร้อยละ 20 (ถ้าผู้ป่วยใช้ยาขยายหลอดลม) หรือมากกว่าร้อยละ 10 (ถ้าผู้ป่วยไม่ใช้ยาขยายหลอดลม) ถือว่าเป็นโรคหอบหืด สูตรค่าความผันผวน = PEF สูงสุด-PEF ต่ำสุด * 100% / (PEF สูงสุด + PEF ต่ำสุด) หรือแพทย์อาจใช้วัด bronchial hyper-reactivity แทนโดยวัดการเปลี่ยนแปลงของสมรรถภาพปอดก่อนและหลังการสูดดมละออง Methacholine ที่เรียกว่า methachpline challenge test
1 วัดการอุดกั้นของทางเดินการหายใจด้วย spirometry เช่น การวัด FEV (Forced expiratory volume in one second) หรือจากการวัด PEF (Peak expiratory flow) หรือด้วยเครื่อง peak flow meter
การจัดลำดับปัญหา (Problem list)
Illness
วิตกกังวลกับโรคที่ตนเป็นอยู่และโรคมีการกำเริบเป็นช่วงๆบ่อยครั้ง
Ideas
รับรู้วาตนเองป่วย ร่างกายไม่แข็งแรง ต้องพ่นยาสมํ่าเสมอเมื่อมีอาการ และต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลหลายครั้ง และโรคไม่หายขาด
Disease
ผู้ป่วยได้รับการวินิจฉัยเป็น Asthma มีประวัติพ่นยาเป็นระยะมา 7 ปี เวลามีอาการจะมีอาการเจ็บหน้าอกร่วมด้วยแต่จะเป็นไม่บ่อย จะเป็นเฉพาะเวลาที่มีอาการเหนื่อยมากๆเท่านั้น แรกพบผู้ป่วย รู้สึกหายใจไม่ออก หายใจปีกจมูกบาน แน่นหน้าอก เหงื่อออก อุณหภูมิร่างกาย 37.7 องศาเซลเซียส PR 112-116 ครั้งต่อนาที หายใจ 28-30 ครั้งต่อนาที O2 sat 95%
Felling
รู้สึกว่าถูกรังแก เพราะร่างกายของตนไม่เเข็งแรงสู้คนอื่นไม่ได้
รู้สึกไม่มีความมั่นใจในตัวเองเพราะไม่สามารถทำกิจกรรมต่างๆได้อย่างคนอื่นๆ
รู้สึกเหนื่อยที่ต้องมาคอยพกยาพ่นคอยพ่นยาตลอดเวลาที่มีอาการ
รู้สึกท้อแท้ เพราะต้องเข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลหลายครั้ง และโรคไม่หายขาด
รู้สึกว่าทำกิจกรรมต่างๆได้ไม่เต็มที่ เนื่องจากกลัวมีอาการกำเริบตลอดเวลา
รู้สึกว่าตนเองด้อยกว่าคนอื่น ในขณที่ทำกิจกรรม หรือการใช้แรงที่จะต้องมีอาการกังวลเกี่ยวกับโรค
รู้สึกได้เล่นกับเพื่อนน้อย ถูกแยกให้อยู่คนเดียวและรู้สึกโดดเดี่ยว
รู้สึกว่าตนเองเป็นภาระของคนอื่น เพราะการเข้าออกโรงพยาบาล จะต้องเสียค่าใช้จ่าย ทำให้ครอบครัวต้องรับภาระมากยิ่งขึ้น
Function
เมื่อมีอาการหอบหืดกำเริบ จะมีหายใจเหนื่อยหอบ แน่นหน้าอก ทําให้ทํากิจกรรมและกิจวัตรประจําวันและออกแรงได้น้อยลง
Expection
ไม่อยากให้อาการหอบหืดกำเริบ และสามารถทำกิจกรรมหรือกิจวัตรประจำวันได้เหมือนคนอื่นและไม่กังวลเกี่ยวกับภาพพลักษณ์ของตนเอง
การวินิจฉัยโรคแยกโรค
หอบหืด (Asthma)
ภาวะหัวใจล้มเหลว(Congestive Heart Failure)
ภาวะน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด หรือ Pleural Effusion
หลอดลมอักเสบ (Bronchitis)
โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (COPD)
วัณโรค (Tuberculosis)
ปอดอักเสบ(Pneumonia)
ภาวะต่อมไทรอยด์เป็นพิษวิกฤติ (Thyroid Crisis)
นางสาวเสาวนิตย์ สมบูรณ์จิตฤดี เลขที่70