Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา เซลล์เจริญผิดปกติ - Coggle Diagram
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหา
เซลล์เจริญผิดปกติ
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
คือเซลล์ต้นกำเนินแบ่งตัวผิดปกติและdifferentiate ไปเป็นเซลล์แก่ได้
แบ่ง 2 ชนิด
1. T-cell lymphoblastic leukemia
2.B-cell lymphoblastic leukemia (พบเป็นส่วนใหญ่)
เรื้อรัง
CML,CLL
เฉียบพลัน
AML,ALL
สาเหตุ
พันธุกรรม
สิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับสีไออนไนซ์(Ionizing radiation)
การได้รับยาเคมีบำบัด
การได้รับสารเคมีต่างๆ
อาการ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
เลือดออกง่าย
เม็ดเลือดขาวต่อสู้เชื้อโรคไม่ได้ ติดเชื้อ , ไข้
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell เพื่อตรวจความผิดปกติของการแบ่งตัว
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ส่วนหนึ่งระบบภูมิคุ้มกัน อวัยวะที่เกี่ยวข้อง ม้าม,ไขกระดูก, ต่อมทอนซิล, ต่อมไทมัส,
ชนิดฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma)
อาการรุนแรง แพร่กระจายทั่วร่างกาย อาจมีก้อนที่ช่องท้อง ช่องอกหรือในระบบประสาท
การวินิจฉัย
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา
การตรวจไขกระดูก
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์(CT scan)
เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
การตรวจ PET scan
อาการ
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
ปวดศีรษะ
ระยะลุกลาม ซีด มีเลือดออกง่าย เช่น จุดเลือดออกตามตัว จ้ำเลือด
การรักษา
การใช้ยาเคมีบ้าบัด (Chemotherapy)
การฉายรังสี(Radiation Therapy)
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้นเนิด
มะเร็งไต
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) เจริญผิดปกติ จนกลายเป็นก้อน พบที่ต่อมหมวกไตมากสุด
ห้ามคล่ำบ่อย ก้อนอาจแตก และแพร่กระจาย
อาการ
มีก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง
ตาโปนมีรอยช้ ารอบตา(raccoon eyes) มีไข้ ปวดกระดูก
ตอบสนองต่อการรักษาไ่ม่ดี อัตราการตายสูง
การรักษาเคมีบำบัด
1.ระยะชักนำให้โรคสงบ (induction phase) การให้ยาเพื่อทำลายเซลล์เวลาสั้นๆ และอันตรายต่อเซลล์ปกติน้อยที่สุด ใช้เวลา 4-6 Week
2. ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive or consolidation phase) ใช้ยาหลายชนิดร่วมกัน หลังระยะโรคสงบ ใช้เวลา 4Week ยาที่ใช้ Metrotrexate, 6 – MP และ Cyclophosephamide
4. ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance phase or continuation therapy) ให้ยาเพื่อควมคุม-รักษาถาวรโดยให้ 6 – MP ร่วม Metrotrexate
3. ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง (CNS prophylaxisphase) ป้องกันไม่ให้ลุกลามเข้าสู่ระบบประสามส่วนกลาง (ยาMetrotrexate, Hydrocortisone ARA – C)
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
Cyclophosphamide
Mercaptopurine(6-MP)
Methotrexate
Cytarabine(ARA-C)
Mesna
Ondasetron(onsia)
Bactrim
Ceftazidime(fortum)
Amikin
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
บทนำ
ยาเคมีบำบัดเป็นยาที่มีฤทธิ์ในการทำลาย และควบคุมการเจริญเติบโตของเซลล์ต่างๆร่างกาย ที่มุ่งทำลายเซลล์มะเร็ง
ทำลายเซลล์ปกติที่แบ่งตัวเร็ว ทำให้เกิดผลข้างเคียง
ผลข้างเคียง
ระบบเลือด
ไขกระดูกผลิตเซลล์เม็ดเลือดต่างๆน้อยลง จึงต้องตรวจเลือดก่อนทุกครั้ง เพื่อประเมินความพร้อมของผู้ป่วย
ภาวะเม็ดเลือดขาวต่ำ
เม็ดเลือดขาวต่ำเล็กน้อย ANC 1000-1500 เซลล์/ลบ.มม.เสี่งต่อการติดเชื้อ (งดให้ยา)
เม็ดเลือดขาวต่ำปานกลาง ANC 500-1000 เซลล์/ลบ.มม.
เม็ดเลือดขาวต่ำรุนแรง ANC ต่ำกว่า 500 เซลล์/ลบ.มม. เสี่ยงต่อการติดเชื้อรุนแรง ,เชื้อแบคทีเรียแกรมลบ ,เชื้อรา (แยกห้อง)
ระบบทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร คลื่นไส้อาเจียน แผลในปากและคอ ปวดท้อง (ในรายอาเจียนแพทย์รักษาโดยให้ยา Onsia (ondansetron) เข้าทางหลอดเลือดดำ
ระบบผิวหนัง
ผมร่วง หลังจากได้ยาไปแล้ว 2-3 สัปดาห์และจะงอกขึ้นมาใหม่หลังหยุดยา 2-3 เดือน แต่จะมีลักษณะเป็นลอนหนาได้ผิวหนังมีสีคล้ำขึ้น ผิวแห้ง
ระบบทางเดินปัสสาวะ
มีฤทธิ์ทำลายไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ/อักเสบ ผู้ป่วยจึงต้องได้รับน้ำทางหลอดเลือดดำ , ทางปากที่เพียงพอ
ตับ
ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่จะถูกย่อยสลายที่ตับและยาเคมีบำบัดบางชนิดมีฤทธิ์ทำลายตับ อาการ ตัวตาเหลือง , อ่อนเพลีย, ปวดชายโครงด้านขวา, ท้องโตขึ้นหรือเท้าบวม (ตรวจโดยการเจาะเลือด)
การพยาบาล
1.การดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยาเคมีบ าบัดผ่านเข้าทางช่องไขสันหลัง(Intrathecal:IT) เพื่อให้ยาสามารถเข้าไปฆ่าเซลมะเร็งที่อยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง
2..การดูแลป้องกันการเกิดแผลในปาก ยาเคมีบำบัด ทำลายCell เยื่อบุช่องปากที่คอยป้องกันการติดเชื้อ จึงเกิดการติดเชื้อได้ง่าย
3.รับประทานอาหารที่สุกใหม่ Low Bacterial Dietโดยให้มีคุณค่าครบถ้วน แคลอรีและโปรตีนสูง งด อาหารที่ลวก ย่าง รวมทั้งผักสด ผลไม้ที่มีเปลือกบาง
4.การดูแลปัญหาซีด ผู้ป่วยเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัดจะเกิดภาวะแทรกซ้อนคือไขกระดูกถูกกด มีผลต่อการสร้างเม็ดเลือดทำให้เม็ดเลือดลดน้อยลง ถ้าเม็ดเลือดแดงลดลงผู้ป่วยจะมีภาวะซีด
5.การดูแลป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก จากการสร้างเกร็ดเลือดลด ผู้ป่วยจะไดรับ Pre-med คือ PCM CPM และ lasix และระหว่างให้จะต้องติดตาม V/S อย่างต่อเนื่องเช่นเดียวกับการให้เลือด
ความผิดปกติของ electrolyte
1.ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง
2.ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง
3.ภาวะกรดยูริกในเลือดสูง
TLS
เกิดขึ้นระหว่างการรักษาด้วยเคมีบำบัด หรือผู้ป่วยมีปริมาณเซลล์มะเร็งมาก เกิดภายใน 72 ชม.หลังรักษาเคมีบำบัด ในผู้ป่วยleukemia และ lymphoma
อาการ
ภาวะกรดยูริกในเลือดสูงอาจพบภาวะง่วงซึม
ภาวะทางเดินปัสสาวะอุดตัน
ไตวาย
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง
กล้ามเนื้ออ่อนแรง ชา
หัวใจเต้นผิดจังหวะ อาจเสียชีวิตได้
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงและภาวะแคลเซียมในเลือดต่ำ