Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การลำเลียงสารของเซลล์, ปัจจัยที่ส่งผลต่อการแพร่, Osmosis - Coggle Diagram
การลำเลียงสารของเซลล์
แบบผ่าเยื้อหุ้มเซลล์
ใช้พลังงาน
ใช้พลังงานจลน์ในสาร
เคลื่อนที่จากความเข้มข้นน้อยไปมาก
Active transport
แบ่งเป็น 2 ประเภท
Primary active transport
ลำเลียงสารทิศทางเดียวต่อการลำเลียง 1 ครั้ง
Secondary active transport
ลำเลียงสาร2 ทิศทางต่อการลำเลียง 1 ครั้ง
ใช้สารพลังงาน ATP
ต้องใช้ Protein carrier
ไม่ใช้พลังงาน
เคลื่อนที่จากความเข้มข้นมากไปน้อย
มี 6 ประเภท
การแพร่แบบฟาซิลิเทต
เคลื่อนที่จากความเข้มข้นสูงไปต้ำ
ใช้ตัวพา
เกิดเร็วกว่าการแพร่แบบธรรมดา
ถ้าสารมีความเข้มข้นถึงจุดหนึ่งจะมีความเร็วคงที่
ออสโมซิส
เป็นการเคลื่อนที่ของน้ำ
เคลื่อนที่จากความเข้มข้นของสารละลายต่ำไปสูง น้ำมากไปน้ำน้อย
มีการเปลี่ยนแปลงของปริมาตร
การแพร่
การเคลื่อนทีของโมเลกุลและไอออนตัวถูกละลาย (Solute)
เคลื่อนที่จากความเข้มข้นมากไปน้อย
บริเวณที่เกิดการแพร่ Phospholipid bilayer ไม่มีตัว carrier
Dialysis
ตรงข้ามกับออสโมซิส
เคลื่อนที่จากสารละลายมากไปน้อย
เป็นหลักการนำไปประดิษฐ์เครื่องฟอกไตเทียม
Ion exchange
เป็นกระบวนการแลกเปลี่ยน ไอออน ที่มีขั้วเดียวกัน
Imbibition
เป็นการดูดน้ำในลักษณะการซับน้ำ พบในพืช
อาศัยสารใน Cell wall คือ Cellulose และ Pectin
มีประโยชน์ในการงอกของเมล็ดและการลำเลียงน้ำ
ไม่ผ่านเยื้อหุ้มเซลล์
นำสารเข้า
แบ่งเป็น 3 วิธี
Pinocytosis
Cell drinking
ลำเลียงของเหลว
โดยการเว้าเข้าไปของเยื้อหุ้มเซลล์ เกิดได้เนื้องจากมี
Microfilament อยู่ใต้เยื้อหุ้มเซลล์
Receptor –mediated endocytosis
การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
ลำเลียงด้วยการใช้ Protein receptor ที่อยู่บนเยื้อหุ้มเซลล์
มีความจำเพาะในการจับกับโปรตีน
Phagocytosis
Cell eating
ลำเลียงโมเลกุลขนาดใหญ่และเป็ยของแข็ง
โดยการใช้ Pseudopodium ยื่นเยื่อหุ้มเซลล์ไปโอบล้อมสารนั้นๆ
เช่น การกินอาหารของอะมีบา
นำสารออก
การลำเรียงสารขนาดใหญ่ออกนอกเซลล์โดยใช้ vesicle
แล้วถุงจะค่อยๆ เคลื่อนเข้ามาเชื่อมรวมกับเยื่อหุ้มเซลล์
จากนั้นสารก็จะออกนอกเซลล์
เช่นการหลั้งน้ำลาย
ปัจจัยที่ส่งผลต่อการแพร่
อุณหภูมิ/ความดัน
ความแตกต่างของความเข้มข้นของสาร
สิ่งเจือปนและชนิดของสารตัวกลาง
ขนาดและน้ำหนักโมเลกุลของสารที่จะแพร่
สถานะของสารที่จะแพร่
Osmosis
Hypertonic solution
สารที่มีความเข้มข้นมากเมื่อเทียบกับสารภายในเซลล์
ทำให้เซลล์เหี่ยว
Isotonic solution
ความเข้มข้นเท่ากัน
Hypotonic solution
สารที่มีความเข้มข้นน้อยเมื่อเทียบกับสารภายในเซลล์
ทำให้เซลล์เต่ง