Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ, 612001052 ธิดาวรรณ นาควิมล 36.1 …
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์เจริญผิดปกติ
สาเหตุของมะเร็งเม็ดเลือด ขาว
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม
ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาว เฉียบพลันชนิด ALL
ฝาแฝดที่เป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลัน ชนิด ALL
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
เคยได้รับรังสีไออนไนท์
เคยได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษามะเร็งชนิด อื่นมาก่อน
การสัมผัสเคมีที่เป็นพิษบางชนิด
สารเคมีต่างๆที่เป็นพิษจากสิ่งแวดล้อมหรือจาก ควันบุหรี่
นิว โรบลาสโตมา
เนื้องอกชนิดร้ายแรง พบบ่อยเด็กอายุ 5 ปี
เนื้องอกมีต้นกำเนิดจากเซลล์ของประ สาท
อาการนำที่มาพบแพทย์ ได้แก่ มีก้อน ในท้อง ท้องโต ปวดท้อง อาการอื่นๆได้ แก่ ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา มีไข้ ปวดกระ ดูก
มีอันตรายสูง
มะเร็งไต
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมามีการ เจริญผิดปกติ
ไม่ให้คลำบ่อย เพราะอาจทำให้ก้อนแตก
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
อาการ/อาการแสดง
มีความแตกต่างตามความผิดปกติทางเมตา บอลิก
อาจพบโดยทั่วไปมักพบอาการทางระบบทาง เดินอาหาร
ภาวะกรดยูริกในเลือดสูงอาจพบภาวะง่วงซึม
อาการแสดงของภาวะทางเดินปัสสาวะอุดตัน หรือไตวาย
ถ้าอยากจุ๊งอาจพบอาการกล้ามเนื้ออ่อนแรง ชา
หัวใจเต้นผิดจังหวะ ซึ่งอาจรุนแรงถึงขั้นเสียชีวิต ได้
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูงและภาวะแคลเซี่ยมใน เลือดต่ำอาจพบกันค่ะแต่คริว ชักเกร็ง ไตวาย และหัวใจเต้นผิดจังหวะ
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการเกิด TLS
เกิดระหว่างการรักษามะเร็งหรือยาเคมี บำบัด
พบระหว่างผู้ป่วยได้รับรังสีรักษาหรืออาจเกิด ขึ้นได้เอง
เกิดบ่อยที่สุดในผู้ป่วยที่มีปริมาณเซลล์มะเร็ง จำนวนมากเป็นมะเร็งที่ไวต่อเคมีบำบัด
มักเกิดขึ้นใน 72 ชั่วโมงภายหลังการรักษาเคมี บำบัดในผู้ป่วยรูคีเมียและ limphoma
ความผิดปกติของ electrolyte ที่พบ บ่อย
ภาวะโพแทสเซียมในเลือดสูง : มักพบในช่วง 12 ถึง 24 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง
ภาวะฟอสเฟตในเลือดสูง: มักพบในช่วง 24 ถึง 48 ชั่วโมงหลังได้รับการรักษาโรคมะเร็ง
ภาวะกดยูริกในเลือดสูง: มักพบในช่วง 48 ถึง 72 ชั่วโมงหลังการได้รับการรักษาโรคมะเร็ง
การวางแผนดูแล
การดูแลป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก : มี แผนการรักษาให้. Platelet concentration หลักการให้คือ ให้หมดภายใน ครึ่งชั่วโมงถึง 1 ชั่วโมง
หัวใจเต้นผิดจังหวะ
การดูแลปัญหาซีด : ถ้าจะมีแผนการรักษาคือการ ให้เลือดจึงต้องดูแลผู้ป่วยขนาดให้เลือดโดยการ ประเมินสัญญาณชีพอย่างน้อยทุก 15 นาทีสี่ครั้ง หลังจากนั้นทุกครึ่งชั่วโมงจนกว่าจะกลับสู่สภาวะ ปกติ
การรับประทานอาหารที่สุขใหม่ : โดยให้มี คุณค่าครบถ้วน แคลอรี่และโปรตีนสูง งดอาหาร ที่ลวกย่างรวมทั้งผักสดและผลไม้ที่มีเปลือก
การดูแลป้องกันการเกิดแผลในปาก : เนื่องจาก เซลล์เยื่อบุช่องปากถูกทำลายด้วยยาเคมีบำบัด ส่งผลทำให้ไม่มีเยื่อช่องปากที่จะคอยป้องกันการ ติดเชื้อ
การดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยาเคมีบำบัดผ่านเข้า ทางช่องไขสันหลัง : เป็นการให้ยาเคมีบำบัดผ่าน เข้าช่องไขสันหลัง เพื่อให้ยาสามารถเข้าไปฆ่า เซลล์มะเร็งที่อยู่ในระบบประสาทส่วนกลาง
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
Cyclophosphamide รักษามะเร็งเลือดขาว โดยจับหรือรวมกับดีเอ็นเอของเซลล์มะเร็ง
Mercaptopurine(6-MP) รักษามะเร็งเม็ดเลือด ขาวชนิดเฉียบพลัน
Methotrexate รักษามะเร็ง Acute leukemia โดยการยับยั้งการสร้าง DNA ,RNAและมีฤทธิ์ กดการเจริญเติบโตของเซลล์
Cytarabine(ARA-C) รักษามะเร็งชนิด Acute lymphoblastic leukemia โดยขัดขวางการ สร้าง DNA
Mesana ป้องกันภาวะเลือดออกในผู้ป่วยกระ เพาะปัสสาวะอักเสบที่มีสาเหตุมาจากยารักษา มะเร็ง
Ondasetron(India) ป้องกันอาการขึ้นไส้อา เจียนในผู้ป่วยมะเร็งที่ต้องรับการรักษาด้วยยา เคมีบำบัด
Ceftazidime(fortune) ป้องกันการติดเชื้อเนื่อง จากมีไข้หลังได้รับยาเคมี
Amikin ป้องกันการติดเชื้อ
วิธีการบำบัด IT IM IV
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal
ทางกล้ามเนื้อหลังฉีดต้องระวังเลือดออก
ทางหลอดเลือดดำ vein ต้องระวังการรั่วของ ยาออกนอกหลอดเลือดที่ทำให้เกิดภาวะแทรก ซ้อนที่รุนแรง
การประคับประคอง
การรักษาทดแทน ด้วยการให้เลือดเพื่อให้ระดับ ฮีโมโกลบินไม่น้อยกว่า 7-8 กรัม/มล ในระยะ แรกก่อนโรคสงบ
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด หากผู้ป่วยมีเลือดออก จากจำนวนเก็ทเลือดต่ำจำเป็นต้องให้เกร็ดเลือด ก่อนก่อนการให้ยา
ระยะการรักษา
ระยะควบคุมโรคสงบ
เป็นยาใช้เพื่อควบคุมและรักษาโรคอย่างถาวร
ยาที่ใช้คือ การให้ 6-MP โดยการรับประทานทุก วันร่วมกับการให้ Metrotrexate
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสายส่วนกลาง
เป็นยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรคลุกลามเข้าสู่ระบบ ประสาทส่วนกลาง
ยาที่ใช้ได้แก่ Metrotrexate ,Hydrocortisone และ ARA-C
ระยะให้ยาแบบเต็มที่
เป็นการให้ยาหลายชนิดรวมกันภายหลังที่ผู้ป่วยอยู่ ในระยะโรคสงบแล้วเพื่อให้ยาทำลายเซลล์มะเร็งให้ เหลือน้อยที่สุด
ใช้เวลา 4 สัปดาห์
ยาที่ใช้ Metrotrexate,6-MP และ Cyclophosephamide
ระยะชักนำโรคให้สงบ
เพื่อทำลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุดและมี อันตรายต่อเซลล์ปกติน้อยที่สุด
ทำให้ไขกระดูกสามารถสร้างเซลล์เม็ดเลือดขาวได้ ตามปกติ
ยาที่ใช้ได้แก่ vincristine ,Adriamycin,LAsparaginase และ Glucocorticoid
ใช้เวลา 4-6 สัปดาห์
ผลข้างเคียง
ผลต่อระบบเลือด
เม็ดเลือดแดง
เม็ดเลือดขาวต่ำ
ต่ำเล็กน้อย ANC 1000-1500 เซลล์/ลบ.มม.
ต่ำปานกลาง ANC 500-1000 เซลล์/ลบ.มม.
ต่ำรุนแรง ANC ต่ำกว่า 500 เซลล์/.ลบ.มม.
เกร็ดเลือดต่ำ
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน แผลในป่กและคอ ปวด ท้อง ท้องผูก
ผลต่อระบบผิวหนัง
ผมร่วง หลังได้ยาไปแล้วสองถึงสามสัปดาห์และจะงอก ขึ้นมาใหม่หลังหยุดยาสองสามเดือนหรือห้าเดือน
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ยาบางชนิดมีฤทธิ์ทำลายไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ
ตับ
ยาถูกย่อยสลายที่ตับ และยาบางชนิดมีฤทธิ์ ทำลายตับ
การวินิจฉัยมะเร็งต่อมน้ำ เหลือง
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิ วิทยา
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์
เอกซเรย์คืนแม่เหล็กไฟฟ้า
การตรวจกระดูก ไขกระดูก
การตรวจ PET scan
การใช้ยาต้านเชื้อรา
ผู้ป่วยที่มีภาวะนิวโทรพีเนียนานกว่าหนึ่ง สัปดาห์ มีโอกาสเกิด systemic fungal infection
ผู้ป่วยที่มี febrile neutropenia นานกว่า 5 หวานและไม่มีแนวโน้มที่มีภาวะนิว โทรพีเนียจะดีขึ้น
การใช้ granulocyte colonystimulating factor
อาจจะช่วยลดระยะเวลาของการเกิด ภาวะนิวโทรพีเนีย
หลังการได้รับยาเคมีบำบัดโดยช่วยให้ มีการผลิตเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิว ได้เร็ว กว่าที่ร่างกายจะผลิตได้เอง
ควรจะเริ่มการให้หลังจากวันสุดท้าย ในแต่ละรอบของการให้ยาเคมีบำบัดที่ มีฤทธิ์กดไขกระดูก ผ่านไปแล้ว 24 ชั่วโมงยังไม่มีความชัดเจนเกี่ยวกับผล ข้างเคียงที่จะเกิดขึ้นในระยะ ยาวนาน ข้างหน้า
Neutropenia
สาเหตุ
อาจเกิดขึ้นได้จากโรคมะเร็งเองพบได้ในผู้ป่วยลิว คีเมีย ที่มีเซลล์มะเร็งในกระแสเลือดมาก มีผล ทำให้จำนวนเม็ดเลือดขาวนิวโทรฟิลในเลือด ลดลงเลย
ในผู้ป่วยโรคมะเร็งการรักษาหรือยาเคมีบำบัด จะมีผลโดยตรงต่อการเกิดภาวะนิวโทรพีเนีย
อาการและอาการแสดงของการติดเชื้ออาจจะมีน้ อยหรือไม่มีจึงทำให้วินิจฉัยได้ยากเพราะจำนวน เม็ดเลือดขาวไม่เพียงพอ
แนวทางการรักษามะเร็ง ต่อมน้ำเหลือง
การใช้ยาเคมีบำบัด
การฉายรังสี
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์ต้น กำเนิด
อาการของมะเร็งต่อมน้ำ เหลือง
อาการเริ่มต้น
คลำพบก้อนบริเวณต่างๆ เช่น รักแร้ ขาหนีบ
มีไข้ หนาวสั่น เหงื่อออกมากตอนกลางคืน คันทั่ว ร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด อ่อนเพลียไม่ทราบสา เหตุ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อมทอนซิลโต
ปวดศีรษะ
อาการในระยะลุกลาม
ซีด เลือดออกง่าย
ในรายที่เป็นในช่องท้องจะท้องโตขึ้น จากการ มีน้ำในช่องท้อง
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
Burkett lymphoma มีลักษณะพิเศษคือ มีต้นกำเนิดมาจาก b-cell มีการแทรก กระจายในเนื้อเยื่อมีก้อนเนื้องอกที่โต เร็วมาก
ต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์กิน อาการจะเร็วและรุนแรง
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กินคบ ต้มน้ำเหลืองจะโตมาเป็นปีไม่มีอาการ เจ็บปวดลักษณะเฉพาะที่พบ Reedsternberg cell
พบบ่อยคือต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ
ประกอบไปด้วยน้ำเหลืองที่มีหน้าที่นำ สารอาหารและเซลล์เม็ดเลือดขาวไปยัง ส่วนต่างๆของร่างกาย
อวัยวะที่เกี่ยวกับน้ำเหลือง
ม้าม
ไขกระดูก
ต่อมทอนซิน
ต่อมไทยมัส
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิด เฉียบพลัน
พบมากในช่วงอายุ 2-5 ปี
พบบ่อยที่สุดในเด็ก
ความหมาย
จำนวนเม็ดเลือดขาวตัวอ่อนมีจำนวนเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็วทำให้การสร้างเม็ดเลือดแดงและเกร็ด เลือดลดลง
Leukemia
มะเร็งของระบบโลหิต
เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิดที่ไขกระดูก
เกิดการแบ่งตัวที่ผิดปกติ ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์แก่ได้
acute lymphoblastic leukemia
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
เมื่อมีการแบ่งตัวรวดเร็วและควบคุมไม่ได้ในไข กระดูกจึงมีเซลล์เม็ดเลือดขาวตัวอ่อนจำนว นมากในไขกระดูก
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันชนิด Acute lymphoblastic leukemia เป็น ชนิดที่พบได้ทุกช่วงอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด Acute myelogenous leukemia พบได้ ในผู้ใหญ่มากกว่าเด็กผู้ชายมากกว่าผู้ หญิง
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด Chronic lymphocytic leukemia พบ บ่อยในผู้ใหญ่ ความชุกของโรคมาก ขึ้นตามอายุ
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด Chronic myelogenous leukemia เป็น ชนิดที่พบได้น้อยพบได้ทั้งเด็กและผู้ ใหญ่
อาการของมะเร็งเม็ดเลือด ขาว
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลีย ง่าย
มีเม็ดเลือดขาวจำนวนมากแต่ทำหน้า ที่ไม่ได้ต่อสู้กับเชื้อโรคไม่ได้
เม็ดเลือดขาวไปเบียดบังอวัยวะ ต่างๆ
เลือดออกง่าย
การวินิจฉัยของมะเร็งเม็ด เลือดขาว
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัว อ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
ทำการยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก
612001052 ธิดาวรรณ นาควิมล 36.1 เลขที่ 51