Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU -…
บทที่ 5
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
และการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (diaphragm fatigue)
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasive positive ventilator; NPPV
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
เหมาะสำหรับผู้ป่วยหายใจล้มเหลวแบบเรื้อรังสำหรับใช้ที่บ้าน
หรือใช้ในเวลากลางคืนและใช้ในรายที่ถอดท่อช่วยหายใจ
แก้ไขภาวะกรดจากการหายใจ
Invasive positive ventilator; IPPV
เป็นเครื่องช่วยหายใจที่ใช้มากที่สุดในภาวะวิกฤต
ลักษณะการช่วยหายใจ
Control mandatory ventilation (CMV)
เป็นวิธีช่วยหายใจที่การหายใจทุกครั้งถูกกำหนดด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด โดยผู้ป่วยไม่มีการหายใจเองเลย
เมื่อผู้ป่วยมีอัตราการหายใจสูงกว่าอัตราการหายใจที่เครื่องตั้งไว้
เครื่องจะไม่มีการช่วยหายใจ
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
เป็นวิธีช่วยหายใจที่มีทั้งการ
หายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
เป็นการเตรียมหย่าเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous ventilation
Continuous positive airway pressure (CPAP)
เป็นวิธีการหายใจที่ให้แรงดันบวก (PEEP)
ต่อเนื่องในระดับเดียวกันทั้งในช่วงหายใจเข้าและออก
Pressure support ventilator (PSV)
เป็นวิธีการหายใจที่เครื่องช่วยผู้ป่วยในขณะที่ผู้ป่วย
สามารถหายใจได้เอง มักใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
cardiac output ลดลง
Pulmonary volutrauma
Pulmonary barotrauma
Artificial airway complication
ภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
Ventilator Associated Pneumonia; VAP
ภาวะพิษจากออกซิเจน (Oxygen toxicity)
เกิดแผลหรือภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ประคับประคองด้านจิตใจ แจ้งให้ทราบทุกครั้งเมื่อต้องให้การพยาบาล
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน
รายงานแพทย์ทันทีเมื่อมีการเปลี่ยนแปลง
การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
หมั่นทำความสะอาดปากและฟันโดยการทำ mouth care
เปลี่ยน Oropharyngeal airway ทุกครั้งหลังทำความสะอาดช่องปาก
ดูดเสมหะด้วยเทคนิคปราศจากเชื้อ (sterile technique)
การดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทำงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ดูแลน้ำกลั่นในกระป๋องของเครื่องช่วยหายใจให้อยู่ในระดับที่กำหนดเสมอ
Tubing system ของเครื่องช่วยหายใจให้เป็นระบบปิด
ให้ตรึงอยู่กับที่ไม่ให้ดึงรั้ง
การป้องกันภาวะปอดแฟบ
Self-inflating bag (Ambu bag) บีบลมเข้าปอด
การตั้งค่า Sigh (การถอนหายใจ หรือการหายใจเข้าลึกๆ)
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (Weaning)
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ควรเริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้า
จัดท่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง
วัดสัญญาณชีพและ Oxygen saturation ทุก 5-10 นาที
เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที 2 ชั่วโมง
วัดสัญญาณชีพทุก 15-30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมง
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจมี 2 วิธี
ผู้ป่วยหายใจเองทาง T piece
ผู้ป่วยหายใจผ่าน T piece ที่ต่อกับ collugated tube โดยเริ่มให้ออกซิเจน 10 ลิตรต่อนาที ใช้เวลาประมาณ ½-2 ชั่วโมง
ผู้ป่วยหายใจเองโดยเริ่มจาก 15-30 นาทีแล้วต่อเครื่องช่วยหายใจได้พักอย่างน้อย 1 ชั่วโมงและทำเช่นนี้อย่างน้อย 2 รอบ/วัน
ในกรณีที่ไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจได้ให้ผู้ป่วยได้พัก 24 ชั่วโมงและเริ่มทำการหย่าอีกครั้งในวันถัดมา
การใช้เครื่องช่วยหายใจ
Mode SIMV
Mode PSV
Mode CPAP
ประเมินความพร้อมของผู้ป่วยที่สามารถทำการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ค่า PEEP น้อยกว่า 5 เซนติเมตรน้ำ
ผู้ป่วยรู้สึกตัวและทำตามคำสั่ง
ค่า PaO2>60 มม.ปรอท FiO2 ไม่เกิน 0.4
การพยาบาลผู้ป่วยใส่สายสวนหลอดเลือด
(central line monitor)
การวัดความดันในหลอดเลือดแดง
(intra-arterial monitoring)
ข้อบ่งชี้
ผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตยาก เช่น ผู้ป่วยถูกไฟไหม้
ตรวจ arterial blood gas หรือส่งเลือดตรวจทางห้องปฏิบัติการบ่อย ๆ
ผู้ป่วยที่มีการไหลเวียนลดลง หรือความดันโลหิตต่ำ
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดได้มาก
ผู้ป่วยที่ใช้ inotropic drugs และ vasoactive drug
เป็นวิธีการสอดใส่สายยางเข้าไปในเส้นเลือดแดง (arterial line; A-line) และนำมาต่อกับเครื่องวัด (manometer) เป็นการวัดความดันของหลอดเลือดแดงโดยตรง
การพยาบาล
ตรวจสอบความแม่นยำของการปรับเทียบค่า (Accuracy)
ดูแลระบบของ arterial line ให้มีประสิทธิภาพ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การป้องกันการติดเชื้อ (Infection)
เมื่อมีการเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง arterial line ต้อง flush สาย ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศค้างในสาย
การป้องกันการเลื่อนหลุด ควร immobilized arm โดยใช้ arm broad ที่เหมาะสม
ถอดสายยางออกแล้วควรกดตำแหน่งแผลไว้นาน อย่างน้อย 10 นาที
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง
(Central venous pressures; CVP)
การวัดความดันของเลือดดำส่วนกลาง หรือแรงดันเลือด
ของหัวใจห้องบนขวา (right atrium pressure) เพื่อประเมินระดับของปริมาณน้ำและเลือดในร่างกาย
การพยาบาลผู้ป่วย
ความแม่นยำของการเปรียบเทียบค่า
Levelling the transducer จัดตำแหน่ง transducer ให้อยู่ในตำแหน่ง
4th intercostal space ตัดกับ mid anterior-posterior line
Zero the transducer เป็นการปรับ transducer กับความดันบรรยากาศ (ให้อยู่ในระดับ 0)
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดกลาง
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสาย
ป้องกันฟองอากาศเข้าสู่หลอดเลือดในขณะวัด CVP
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต
(common drugs used in ICU)
ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest
Epinephrine หรือ Adrenaline
Amiodarone
ยาที่ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
Atropine
ยาที่ใช้ในภาวะ Tachyarrhythmia
Adenosine
Digoxin
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
Dopamine
Dobutamine
Norepinephrine
ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
Nicardipine
Sodium Nitroprusside
Nitroglycerin (NTG)