Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์ผิดปกติ, นางสาวอิสรา ภู่มาลี รุ่น…
บทที่ 10 การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์ผิดปกติ
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ชนิด
ฮอดจ์กิน (Hodgkin Lymphoma )
ฮอดจ์นอนกิน (Non-Hodgkin Lymphoma )
การวินิจฉัย
Biopsy
CT scan
MRI
Bone scan
PET scan
การตรวจไขกระดูก
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ(Cervical Lymphoma)
อาการ
อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย
มีไข้ หนาวสั้น เหงื่ออกมาก ตอนกลางคืน
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
คลำพบก้อนที่บริเวณต่างๆ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ทอนซิลโต
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย
อาการแน่นท้อง อาหารไม่ย่อย
ความผิดปกติของเม็ดเลือดขาว ทำให้เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองขึ้น การทำหน้าที่ก็จะผิดปกติ
แนวทางการรักษา
1.การใช้ยาเคมมีบำบัด
2.การฉายรังสี
3.การปลูกถ่ายเซลล์
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
เฉียบพลันชนิดAML
เรื้อรังชนิดCLL
เฉียบพลันชนิดALL
เรื้องรังชนิดCML
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
ครอบครัวที่เป็นมะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลันชนิด ALL
เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม
ปัจจัยด้ารสิ่งแวดล้อม
การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษามะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด
การมีประวัติได้รับสีไออนไนซ์
ชนิดที่พบบ่อยที่สุด
ชนิดเฉียบพลัน(Acute lymphoblastic leukemia)
T-Cell lymphoblastic leukemia
B-Cell lymphoblastic leukemia
อาการ
ซีด อ่อนเพลียง่าย
เลือดออกง่าย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
ติดเชื้อง่าย
มะเร็งของระบบโลหิต เกิดจากความผิดปกติของเซลล์ต้นกำเนิด(Strm cell)ที่อยู่ในไขกระดูก
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
ทำการยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
การให้ยาเคมีบำบัด
ทางช่องไขสันหลัง
ทางกล้ามเนื้อ
ทางหลอดเลือดดำ
การรักษาประคับประคอง
การรักษาทดแทน
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
ระยะการรักษา
3.ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
4.ระยะควบคุมโรคสงบ
2.ระยะให้ยาแบบเต็มที่
1.ระยะชักนำให้โรคสงบ
มะเร็งไต
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา มีการเจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต
อาการที่นำมาพบแพทย์
ก้อนในท้องโต ปวดท้อง
ตาโปน มีรอยช้ำรอบตา
มีไข้ ปวดกระดูก
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
การวางแผนการดูแลผู้ป่วย
การดูแลผู้ป่วยที่รับยาเคมีบำบัดช่องไขสั้นหลัง
หลังให้ยาต้องจัดผู้ป่วยนอนราบ 6-8 ชม.
การดูแลปัญหาซีด
ควรประเมิน v/s ทุก 15 นาที ขณะให้เลือด
การป้องกันเกิดแผลในปาก
ห้ามแปรงฟัน ถ้าหากเกร็ดเลือดีแนะนำใช้แปรงอ่อนนุ่ม
การป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก
แพทย์อาจมีแผนการรักษา ให้ Platlet concrmttation
รับประทานอาหารที่สุกใหม่
ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร
ปวดท้องท้องเดิน
คลื่นไส้ อาเจียน
เบื่ออาหาร
ระบบทางเดินปัสสาวะ
การตกตะกอนของยาทำให้กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ผลต่อระบบผิวหนัง
ผมร่วง
ตับ
ยาเคมีบำบัดถูกย่อยสลายที่ตับ และบางชนิดทำลายตับ
ผลต่อระบบเลือด
เกร็ดเลือดต่ำกว่าปกติ
เม็ดเลือดแดง ทำให้เกิดภาวะซีด
เม็ดเลือดขาวต่ำ
นางสาวอิสรา ภู่มาลี รุ่น 36/2 เลขที่ 65 รหัสนักศึกษา 612001146