Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU - Coggle Diagram
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
และการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ข้อบ่งชี้การใช้เครื่องช่วยหายใจ
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (diaphragm fatigue)
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ชนิดของเครื่องช่วยหายใจ
Non-invasive positive ventilator; NPPV
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ หมายถึงเครื่องช่วยหายใจที่ให้การช่วยหายใจผู้ป่วยที่ไม่มีท่อทางเดินหายใจซึ่งสามารถช่วยในการแลกเปลี่ยนก๊าซให้ดีขึ้น
Invasive positive ventilator; IPPV
เครื่องช่วยหายใจประเภทความดันบวกที่ใส่ท่อช่วยหายใจ เป็นเครื่องช่วยหายใจที่ใช้มากที่สุดในภาวะวิกฤต ซึ่งเป็นการอัดอากาศเข้าไปในปอดผ่านทาง endotracheal tube หรือ tracheostomy tube
การแบ่งประเภทของเครื่องช่วยหายใจ (Mode of ventilator)
Control mandatory ventilation (CMV)
หรือ Assist/control (A/C) ventilation
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
Spontaneous ventilation
3.1 Continuous positive airway pressure (CPAP)
3.2 Pressure support ventilator (PSV)
ภาวะแทรกซ้อนจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
ผลต่อระบบหัวใจและไหลเวียนเลือด
การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตรการหายใจที่สูงเกินไป
ภาวะถุงลมปอดแตก (Pulmonary barotrauma)
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ (Artificial airway complication)
ภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ
(Ventilator Associated Pneumonia; VAP)
ภาวะพิษจากออกซิเจน (Oxygen toxicity)
ระบบทางเดินอาหาร
ผลต่อภาวะโภชนาการ
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลด้านจิตใจพยาบาลควรประเมินภาวะดังกล่าวและดูแลอย่าง
ใกล้ชิด ประคับประคองด้านจิตใจโดยอธิบายเกี่ยวกับการเจ็บป่วย
การดูแลด้านร่างกาย
1) ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน
2) การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
3) การป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทางเดินหายใจ
4) การดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทํางานอย่างมีประสิทธิภาพ
5) การป้องกันภาวะปอดแฟบ
6) การติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สําคัญ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (Weaning)
ขั้นตอนที่ 1 ก่อนหย่าเครื่องช่วยหายใจ
วิธีการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ผู้ป่วยหายใจเองทาง T piece หรือหายใจเองสลับกับเครื่องช่วยหายใจเป็นพักๆ
การใช้เครื่องช่วยหายใจ mode SIMV,PSV,CPAP
2.1 Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
กระทําโดยการหย่าเครื่องช่วยหายใจโดยเครื่องค่อยๆ ลดการช่วยเหลือจากเครื่องโดยการตั้งค่าการหายใจของเครื่องให้ต่ํากว่าการหายใจของผู้ป่วย
2.2 Pressure support ventilation (PSV)
โดยเครื่องจะปล่อยแรงดันในช่วงที่ผู้ป่วยหายใจเข้าด้วยตนเองจึงทําให้ผู้ป่วยไม่ต้องออกแรงมาก ผู้ป่วยเป็นผู้กําหนดอัตราการหายใจ เวลาในการหายใจเข้าและปริมาตรของอากาศ (tidal volume) ด้วยตนเอง
2.3 Continuous Positive Airway Pressure (CPAP) เป็นการหย่าเครื่องช่วยหายใจ โดยเครื่องช่วยหายใจปล่อยแรงดันบวกเข้าปอดตลอดเวลาเพื่อลดการออกแรงในการหายใจ
ขั้นตอนที่ 2 ขณะหย่าเครื่องช่วยหายใจ
การพยาบาลผู้ป่วยที่หย่าเครื่องช่วยหายใจ
ดูดเสมหะเพื่อให้ทางเดินหายใจโล่ง
จัดท่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง
เริ่มทําการหย่าเครื่องช่วยหายใจเมื่อประเมินสภาพผู้ป่วยว่าพร้อมทั้งทางร่างกายและจิตใจ
วัดสัญญาณชีพและความเข้มข้นของออกซิเจนปลายนิ้ว
(Oxygen saturation)
เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก 15 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจโดย T piece 10 ลิตร/นาที
ขั้นตอนที่ 3 หลังหย่าเครื่องช่วยหายใจ
จัดท่าผู้ป่วยท่านั่งศีรษะสูง
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที 2 ชั่วโมง
วัดสัญญาณชีพทุก 15-30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีสายสวนหลอดเลือด
(central line monitor)
การวัดการไหลเวียนเลือดและความดันโลหิตในผู้ป่วยวิกฤต
การวัดความดันในหลอดเลือดแดง (intra-arterial monitoring)
เป็นวิธีการสอดใส่สายยางเข้าไปในเส้นเลือดแดง (arterial line; A-line) และนํามาต่อกับเครื่องวัด
(manometer) เป็นการวัดความดันของหลอดเลือดแดงโดยตรง
ข้อบ่งชี้ในการวัดความดันโลหิตทางหลอดเลือดแดง
ในผู้ป่วยที่มีการไหลเวียนลดลง
ผู้ป่วยได้รับการผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดได้มาก
ในรายที่จําเป็นต้องการตรวจ arterial blood gas
ผู้ป่วยที่ใช้ inotropic drugs และ vasoactive drug
ผู้ป่วยที่วัดความดันโลหิตยาก
การพยาบาลผู้ป่วยที่ใส่สายหลอดเลือดแดง (arterial line)
ตรวจสอบความแม่นยําของการปรับเทียบค่า (Accuracy)
ดูแลระบบของ arterial line ให้มีประสิทธิภาพ ใช้ continuous flush system โดยใช้สารน้ํา 0.9%
NSS 500 cc ผสมกับ Heparin 2,000-2,500 ยูนิต
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การป้องกันการติดเชื้อ (Infection)
เมื่อมีการเก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง arterial line ต้อง flush สาย ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศค้างในสาย
ตรวจสอบข้อต่อต่าง ๆ ให้แน่นอย่างสม่ําเสมอ
การป้องกันการเลื่อนหลุด ควร immobilized arm โดยใช้ arm broad
ตรวจดูคลื่นที่แสดงการอุดตัน (damped waveform)
จดบันทึกค่า Arterial blood pressure ที่ได้ทุก 15-60 นาที
10.ในกรณีที่แพทย์ถอดสายยางออกแล้วควรกดตําแหน่งแผลไว้นาน อย่างน้อย 10 นาที
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดําส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
ข้อบ่งชี้ในการติดตามค่า CVP มีดังนี้
ในผู้ป่วยที่สูญเสียเลือดจากอุบัติเหตุหรือจากการผ่าตัด
ในผู้ป่วยที่มีภาวะน้ําเกิน
ในกรณีที่ต้องการประเมินการทํางานของหัวใจและหลอดเลือด
ตําแหน่งเส้นเลือดที่ใช้สําหรับ monitor CVP
สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลาง (central venous catheter; CVC) รวมทั้ง Pic line การใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลางเป็นการแทงสายสวนเพื่อสอดใส่ทางหลอดเลือดดําโดยให้ปลายสายอยู่ตําแหน่งของ Superior vena cava (SVC)
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีสายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลาง
(Central venous pressures; CVP)
ความแม่นยําของการเปรียบเทียบค่า
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ป้องกันการติดเชื้อในกระแสเลือดจากการใส่สายสวนหลอดเลือดดําส่วนกลาง
ป้องกันการอุดตันของสายสวน
การป้องกันฟองอากาศเข้าหลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด
ยาที่ใช้บ่อยในผู้ป่วยวิกฤต
(common drugs used in ICU)
ยาที่ใช้ในภาวะ Pulseless Arrest
1.1 Epinephrine หรือ Adrenaline 1 mg/ml/ampule (1: 1,000)
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต
ปรับเพิ่ม/ลดขนาดยา เมื่อ BP< 90/60 หรือ >140/90 mmHg
1.2 Amiodarone (Cordarone®)
การพยาบาลประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต อัตราการเต้นของหัวใจและ monitor EKG ทุก 15 นาที3 ครั้ง หลัง loading dose รายงานแพทย์เมื่อ BP < 90/60 mmHg, HR < 60 BPM
ยาที่ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
2.1 Atropine
การพยาบาล
ควรระวังการให้ขนาดที่ต่ํากว่า 0.5 mg
ติดตามสัญญาณชีพ monitor EKG อัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิต
ไม่ควรให้ถ้า HR > 60 ครั้ง/นาที
รายงานแพทย์เมื่อ HR > 120 ครั้ง/นาที โดยให้ monitor HR ทุก 5 นาที
ยาที่ใช้ในภาวะ Tachyarrhythmia
3.1 Adenosine
การพยาบาล
เป็นยาที่ออกฤทธิ์ได้เร็ว (10 วินาที) และหมดฤทธิ์เร็ว จึงต้องฉีดเร็วๆ
ถ้าฉีดยาช้า ยาจะถูกทําลายหมดก่อนถึงหัวใจ
3.2 Digoxin (Lanoxin ®)
การพยาบาล
กรณียาฉีด ประเมินสัญญาณชีพก่อนให้ยา และหลังให้ยาทุก 15 นาทีติดต่อกัน 2 ครั้ง
monitor EKG ขณะฉีดยา และหลังฉีดยา 1 ชั่วโมง
รายงานแพทย์เมื่อ HR < 60 ครั้ง/นาที หรือ >100 ครั้ง/นาที
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
4.1 Dopamine (Inopin®)
การพยาบาล
เลือกตําแหน่งให้ยาบริเวณหลอดเลือดดําเส้นใหญ่และควบคุมอัตราการไหลของยาโดยใช้เครื่อง
ตรวจดู IV site ทุก 1 ชั่วโมงเพื่อเฝ้าระวังการเกิดยารั่วออกนอกหลอดเลือด
ประเมินอัตราการเต้นของหัวใจและความดันโลหิต
ปรับเพิ่มหรือลดยาได้ทีละ 2μd/min keep BP ≥ 90/60 และ ≤140/90
4.2 Dobutamine
ยาอาจทําให้เกิดความดันโลหิตสูงหัวใจเต้นเร็วและเต้นผิดจังหวะได้
บางรายอาจมีอาการเจ็บแน่นหน้าอกจากกล้ามเนื้อหัวใจตายเพิ่มขึ้นได้เนื่องจากยาทําให้หัวใจ
4.3 Norepinephrine (Levophed®)
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต
อัตราการเต้นของหัวใจและ monitor ECG
ตรวจดู IV site ทุก 1 ชั่วโมงเพื่อเฝ้าระวังการเกิดยารั่วออกนอกหลอดเลือด
5.ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
5.1 Nicardipine
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต
กรณี Emergency ให้ยาทาง IV bolus ติดตามทุก 5 นาที
กรณีให้ IV drip ติดตามทุก 15 นาที
รายงานแพทย์ทันทีถ้า BP < 90/60 mmHg หรือ HR< 60 ครั้ง/นาที
5.2 Sodium Nitroprusside
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต ทุก 5 นาทีหลังให้ยา
ป้องกันยาในขวดน้ําเกลือทําปฏิกิริยากับแสงด้วยกระดาษ
5.3 Nitroglycerin (NTG)
การพยาบาล
ประเมินสัญญาณชีพ โดยเฉพาะความดันโลหิต
monitor EKG ยาทําให้เกิดหัวใจเต้นเร็ว (Tachycardia)