Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันทีการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาของทารกแรกเกิด -…
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันทีการเปลี่ยนแปลงด้านสรีรวิทยาของทารกแรกเกิด
การพยาบาลทารกแรกเกิด
-แรกคลอดจนถึง 28 วันหลังคลอด
-การปรับตัว การเจริญเติบโต พัฒนาการ
-การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา
ระบบหายใจ
-ทารกแรกเกิดใช้กล้ามเนื้อกระบังลม (Abdominal breathing) ช่วยในการหายใจเป็นหลัก
-ใช้ Accessory muscles น้อย
-อัตราการหายใจ ทันทีแรกเกิดอาจถึง 80 ครั้ง/นาที
-ปกติ 40-60 ครั้ง/นาที
-หายใจไม่สม่ำเสมอ มีการหายใจแบบ Periodic breathing
ระบบการไหลเวียนโลหิต
-ชีพจรและการเต้นของหัวใจ-ในช่วง 2-3 วันแรก อัตราการเต้นยังไม่สม่ำเสมอ อาจได้ยินเสียง murmur เพราะ shunt ยังปิดไม่สมบูรณ์
-ความดันโลหิต- ควรใช้ Cuff กว้าง1 นิ้วหรือประมาณ 2/3 หรือ ¾ ของความยาวต้นแขนทารก
-วันแรกหลังคลอดเท่ากับ 50-60 mmHg ต่อมาวันที่ 4 จะสูงขึ้นเป็น 60 – 80 mmHg-ทารกร้องไห้ค่าสูงขึ้นได้ค่าที่ไม่แน่นอน
ระบบประสาท
1.PALMAR GRASP REFLEX
วิธีทดสอบ
ใช้ปลายนิ้วชี้แตะกลางฝ่ามือของทารก แล้วกดเบา ๆทารกตอบสนอง โดยงอนิ้วมือทุกนิ้ว เพื่อกำมือผู้ตรวจ ทารกที่สุขภาพดีจะกำแน่น ขนาดที่ผู้ตรวจสามารถยกทารกขึ้นจากพื้นที่นอน รีเฟล็กซ์นี้หายไปเมื่ออายุ 6-12 สัปดาห์
2.PLANTAR REFLEX / PLANTAR GRASP REFLEX ทดสอบได้ 2
วิธี1.ปลายนิ้วชี้กดกลางฝ่าเท้าทารก ทารกจะงอนิ้วเท้า
2.ใช้เล็บนิ้วขีดขอบฝ่าเท้าด้านนิ้วก้อย โดยขีดจากส้นเท้าขึ้นไปทางนิ้วก้อยแล้วโค้งไปทางนิ้วหัวแม่เท้าทารก › 90% จะตอบสนอง โดยงอหัวแม่เท้า (Flexion)
3.Moro reflex or Startle reflex :
วิธีทดสอบ เช่น
1.ให้ทารกนอนหงายบนที่นอน (เบาะ) กระตุ้นโดยการตบที่นอน (เบาะ) ที่ทารกนอน2.ดึงมือทารกแล้วค่อย ๆ ปล่อย
3.ประคองด้านหลังทารกแล้วปล่อยให้ทารกหงายไปด้านหลัง โดยใช้ฝ่ามือรองรับ และกระตุ้นให้เด็กกางแขนและขาออก
4.PLACING REFLEX
วิธีการทดสอบ
1.ใช้มือประคองที่ใต้รักแร้ 2ข้าง และหัวแม่มือประคองด้านหลังของศีรษะ ยกทารกให้ตัวตั้งตรงให้หลังเท้าสัมผัสขอบโต๊ะทารกจะตอบสนอง โดยการยกเท้า และงอข้อเข่าและข้อตะโพก รีเฟล็กซ์หายเมื่ออายุ 4 – 6 สัปดาห์
5.STEPPING REFLEXวิธีทดสอบ1. ผู้ตรวจใช้มือประคองที่ใต้รักแร้ทั้ง 2 ข้างและ หัวแม่มือประคองด้านหลังของศีรษะ ยกทารกให้ตัวตั้งตรง ให้ฝ่าเท้าของทารกสัมผัสพื้นที่แข็งและโน้มตัวมารกไปด้านหน้าทารกจะตอบสนอง โดยยกเท้าสลับข้างเหมือนก้าวเดินREFLEX นี้ปรากฏนานประมาณ 3 เดือน
6.Rooting reflexวิธีทดสอบ1. ใช้นิ้วชี้เขี่ยที่แก้ม หรือมุมปากของทารกเบา ๆทารกจะตอบสนอง โดยการอ้าปาก และหันหน้าไปทางด้างที่กระตุ้น (เขี่ย)หายเมื่ออายุประมาณ 9-12สัปดาห์
7.Sucking reflex :ทารกดูดเมื่อมีของเข้าปาก วิธีทดสอบ1. ใช้หัวนมยางสะอาดสัมผัสเพดานแข็ง 2. อาจใช้นิ้วมือของทารก หรือนิ้วมือที่สะอาดแทนหัวนมยางทารกจะตอบสนอง โดยทารกจะดูดอย่างแรง
8.TONIC NECK REFLEX (ท่าฟันดาบ Fencing position)รีเฟล็กนี้อาจปรากฏตั้งแต่แรกเกิด ปกติจะปรากฏหลัง 2 เดือน จะหายเมื่ออายุ 6 เดือนการทดสอบรีเฟล็กนี้ ทารกจะไม่ตอบสนองทุกครั้ง ถ้าพบทุกครั้งถือว่าผิดปกติ
9.TRUNK INCURVATION REFLEX (GALANT’S REFLEX)วิธีทดสอบ1. ใช้มือรองหน้าอก ยกตัวทารกขึ้นในท่านอนคว่ำ ใช้นิ้วเขี่ยหลังทารกที่ตำแหน่งห่างจากแนวกระดูกสันหลัง 1 ซม. โดยเคลื่อนนิ้วชี้จากต้นคอไปยังก้น ขนานกับแนวกระดูกสันหลังทารกตอบสนอง โดยบิดลำตัว หัวไหล่ และเชิงกรานให้โค้งไปยังด้านที่ถูกกระตุ้น หายไปเมื่ออายุ 16 สัปดาห์
ระบบทางเดินอาหาร
การขับถ่ายอุจจาระขี้เทา - การขับถ่ายขี้เทาภายใน 24-48 Hrs.หลังเกิด95 % ถ่ายขี้เทาภายใน 24 Hrs.99 % ถ่ายขี้เทาภายใน 48 Hrs.ถ่ายขี้เทาปนอุจจาระ (Transitional stool) ในวันที่ 3 – 4 ถ่ายอุจจาระสีเหลือง ในวันที่ 5
ระบบทางเดินปัสสาวะ
ปกติ ทารกจะขับถ่ายปัสสาวะหลังเกิดภายใน 24 Hrs.ปัสสาวะของทารกจะไม่มีสีและกลิ่นสัปดาห์แรกอาจพบ Urates ปนออกมาทำให้เห็นจุดสีแดงอิฐบนผ้าอ้อมทารก ต้องให้ทารกได้รับน้ำเพิ่มขึ้น
ระบบต่อมไร้ท่อ
ระบบต่อมไร้ท่อเจริญดี แต่การทำงานยังไม่สมบูรณ์ Growth hormone ปกติ ต่อมธัยรอยด์ปกติ เต้านมแข็งและใหญ่ อาจมีน้ำนมเรียกว่า Witches milk (Prolactin)Pseudomenstruation ( Estrogen)
การควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย
ทารกแรกเกิดมีการควบคุมอุณหภูมิร่างกายลำบากจาก1.ศูนย์ควบคุมอุณหภูมิของร่างกาย (Hypothalamus) ยังเจริญไม่เต็มที่2.พื้นที่ผิวกายมากเมื่อเทียบกับน้ำหนักตัว3.มีไขมันใต้ผิวหนังน้อยสูญเสียความร้อนออกจากร่างกาย ได้ง่าย4.กลไกการสั่นของกล้ามเนื้อเซลล์มีน้อย (Shivering) หรือ แทบจะไม่มี
เครื่องห่อหุ้มร่างกาย
ผิวหนังไขเคลือบผิว(Vernix caseosa ) ขนอ่อน (Lanugo)ผิวหนังลาย (Marble skin or cutis marmorata) เกิดจากกลไกการควบคุมหลอดเลือดฝอยของทารกยังทำงานไม่เต็มที่ผิวหนังเขียวเฉพาะทีปลายมือและเท้า (Peripheral cyanosis or Acrocyanosis ) เกิดจากร่างกายกระทบความเย็นทำใอวัยวะส่วนปลายมีเลือดดำคั่งมากจึงมีสีเขียว หรือเข้มขึ้นได้ จะหายไปเมื่อร่างกายอบอุ่น