Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์ผิดปกติ, นางสาว สุรีรัตน์ พึงประสพ รุ่น 36/2…
การพยาบาลเด็กที่มีปัญหาเซลล์ผิดปกติ
มะเร็งต่อมน้ำเหลือง
ความผิดปกติของเซลล์เม็ดเลือดขาวเหล่านี้ทำให้เกิดเป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองขึ้นการทำหน้าที่ก็จะผิดปกติ
การวินิจฉัย
การตัดชิ้นเนื้อเพื่อตรวจทางพยาธิวิทยา (Biopsy)
การตรวจไขกระดูก
เอกซเรย์คอมพิวเตอร์ (CT scan)
เอกซเรย์คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (MRI)
การตรวจกระดูก (Bone scan)
การตรวจ PET scan
อาการ
อาการเริ่มต้นที่พบบ่อย
มีไข้ หนาว สั่น เหงื่อออกมาก
ตอนกลางคืน คันทั่วร่างกาย
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด
อ่อนเพลียไม่ทราบสาเหตุ
จะคลำพบก้อนที่บริเวณต่าง ๆ
ไอเรื้อรัง หายใจไม่สะดวก ต่อทอนซิลโต
อาการในระยะลุกลาม
ซีด มีเลือดออกง่าย
ในรายที่เป็นมะเร็งต่อมน้ำเหลืองเกิดขึ้นภายในช่องท้อง ผู้ป่วยจะมีอาการแน่น ท้อง หรืออาหารไม่ย่อย ท้องโตขึ้น
ชนิด
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดฮอดจ์กิน
(Hodgkin Lymphoma)
มะเร็งต่อมน้ำเหลืองชนิดนอนฮอดจ์
กิน(Non-HodgkinLymphoma)
แนวทางการรักษา
การฉายรังสี (Radiation Therapy)
การรักษาด้วยการปลูกถ่ายเซลล์
ต้นเนิด (Transplantation)
การใช้ยาเคมีบำบัด (Chemotherapy)
ตำแหน่งที่พบบ่อย
ต่อมน้ำเหลืองบริเวณคอ (Cervical Lympnode)
การรักษาด้วยยาเคมีบำบัด
การรักษาประคับประคอง
การรักษาทดแทน (Replacement therapy)
การรักษาด้วยเกร็ดเลือด
ยาเคมีบำบัดที่ใช้บ่อย
2.Mercaptopurine(6-MP)
Methotrexate
Cyclophosphamide
Cytarabine(ARA-C)
ระยะการรักษา
ระยะให้ยาแบบเต็มที่ (intensive
or consolidation phase)
เป็นการให้ยาหลายชนิดร่วมกันภาย
หลังที่ผู้ป่วยอยู่ในระยะโรคสงบ
ระยะป้องกันโรคเข้าสู่ระบบประสาทส่วน
กลาง (CNS prophylaxis phase)
เป็นการให้ยาเพื่อป้องกันไม่ให้โรค
ลุกลามเข้าสู่ระบบประสาทส่วนกลาง
ระยะชักนำให้โรคสงบ
(induction phase)
เป็นการให้ยาเพื่อทำลายเซลล์ในเวลาอันสั้นให้มากที่สุด
และมีอันตรายต่อเซลล์ปกติให้น้อยที่สุด
ระยะควบคุมโรคสงบ (maintenance
phase or continuation therapy)
เป็นการให้ยาเพื่อควบคุม และรักษา
โรคอย่างถาวร
วิธีการให้ยาเคมีบำบัด
ทางกล้ามเนื้อ
ทางหลอดเลือดดำ
ทางช่องไขสันหลัง intrathecal
มะเร็งไต
ภาวะที่เนื้อไตชั้นพาเรนไคมา(Parenchyma) มีการ เจริญผิดปกติจนกลายเป็นก้อนเนื้องอกภายในเนื้อไต ส่วนใหญ่จะมีขนาด ใหญ่ และคลำได้ทางหน้าท้อง และมักจะเป็นที่ไตข้างใดข้างหนึ่ง
อาการนำที่มาพบแพทย์
ก้อนในท้อง ท้องโต ปวดท้อง
ตาโปนมีรอยช้ำรอบตา(raccoon eyes)
มีไข้ ปวดกระดูก
มะเร็งเม็ดเลือดขาว
ชนิดของมะเร็งเม็ดเลือดขาว
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด AML
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CLL
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิด ALL
มะเร็งเม็ดเลือดขาวเรื้อรังชนิด CML
สาเหตุ
ปัจจัยด้านพันธุกรรม
• เด็กที่เป็นดาวน์ซินโดรม (Down’s syndrome)
•ครอบครัวที่มีสมาชิกเป็นโรคมะเร็งเม็ดเลือดขาวเฉียบพลันชนิดALL
ปัจจัยทางด้านสิ่งแวดล้อม
• การมีประวัติได้รับสีไออนไนซ์ (Ionizing radiation)
• การมีประวัติได้รับยาเคมีบำบัดในการรักษาโรคมะเร็งชนิดอื่นมาก่อน
• การสัมผัสสารเคมีที่เป็นพิษบางชนิด
สารเบนซิน (Benzene)
สารฟอร์มาลดีไฮด์ (Formaldehyde)
ชนิดที่พบบ่อยที่สุดในเด็ก
มะเร็งเม็ดเลือดขาวชนิดเฉียบพลัน (Acute
lymphoblastic leukemia ,ALL)
แบ่งได้เป็น 2 ชนิด
T-cell lymphoblastic leukemia
B-cell lymphoblastic leukemia
อาการ
เบื่ออาหาร น้ำหนักลด ซีด อ่อนเพลียง่าย
เลือดออกง่าย
ติดเชื้อง่าย
Leukemia หมายถึง
มะเร็งของระบบโลหิต เกิดจากความผิดปกติของ เซลล์ต้นกำเนิด(Stemcell) ที่อยู่ในไขกระดูก (Bone Marrow)
เกิดการแบ่งตัวที่ผิดปกติ ไม่สามารถ differentiate ไปเป็นเซลล์ตัวแก่ได้
การวินิจฉัย
เจาะเลือดตรวจหาเซลล์เม็ดเลือดตัวอ่อนของเม็ดเลือดขาว Blast cell
ทำการยืนยันโดยการเจาะไขกระดูก Bone marrow Transplanted
การดูแลเด็กที่ได้รับยาเคมีบำบัด
ผลข้างเคียงของยาเคมีบำบัด
ผลต่อระบบผิวหนัง ทำให้ผมร่วง หลังจากได้ยาไปแล้ว 2-3 สัปดาห์ และจะงอกข้ึนมาใหม่หลังหยุดยา 2-3 เดือน หรือบางตาราบอกว่า 5 เดือน
ผลต่อระบบทางเดินอาหาร ทำให้มีอาการเบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน แผลในปากและคอ ปวดท้อง ท้องเดิน ท้องผูก
ระบบทางเดินปัสสาวะ ระบบทางเดินปัสสาวะ ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่จะถูกขับออกทางไต ยาบาง ชนิดก็มีฤทธ์ิทำลายไต ท่อไต กระเพาะปัสสาวะ และนอกจากนี้ การตกตะกอนของยาเคมีบำบัดทำให้กระเพาะ ปัสสาวะอักเสบ Cystitis
1.ผลต่อระบบเลือด
1.1 เม็ดเลือดแดง : RBC ผู้ป่วยที่ได้รับ
ยาเคมีบาบัดจะมีภาวะซีด (Anemia)
1.2เม็ดเลือดขาวต่ำ(Leukopenia)
เม็ดเลือดขาวต่ำเล็กน้อย ANC
1000-1500 เซลล์/ลบ.มม
เม็ดเลือดขาวต่ำปานกลาง ANC
500-1000 เซลล์/ลบ.มม
เม็ดเลือดขาวต่ำรุนแรง ANC ต่า
กว่า 500 เซลล์/ลบ.มม
1.3 เกร็ดเลือดต่ำว่าปกติ
ตับ ยาเคมีบำบัดส่วนใหญ่จะถูกย่อยสลายที่ตับและยาเคมีบำบัดบางชนิดมีฤทธ์ิทำลายตับ
การวางแผนการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีบำบัด
การดูแลป้องกันการเกิดแผลในปาก
การดูแลจึงต้องเน้นเรื่องการรักษา ความสะอาดโดยให้บ้วนปากด้วย 0.9%NSS อย่างต่อเนื่องดังกล่าวข้างต้น และจะไม่แปรงฟันถ้าเกร็ดเลือดต่ำกว่า 50,000 cell/cu.mm แต่ถ้าเกร็ดเลือดเกินกว่านี้สามารถแปรงฟันได้ แต่ต้องใช้แปรงสีฟันที่อ่อนนุ่ม
1.การดูแลผู้ป่วยหลังได้รับยาเคมีบำบัดผ่านเข้าทาง
ช่องไขสันหลัง( Intrathecal:IT)
หลังให้ยาต้องจัดให้ผู้ป่วยนอนราบ 6-8 ชั่วโมง
เพื่อป้องกันการเกิด Herniation ของสมอง
นอกจากนี้การให้ยาแพทย์จะต้อง นำน้ำไขสันหลังออก เท่ากับ
จำนวนยาที่ใส่เข้าไป โดยนับหยดน้ำไขสันหลัง 15 หยดต่อ 1 ซีซี
4.การดูแลปัญหาซีด
จึงต้องดูแลผู้ป่วยขณะให้เลือด โดยการติดตามประเมิน V/S อย่างต่อเนื่อง ทุก 15 นาที 4 ครั้ง หลังจากนั้นทุก 1⁄2 ชั่วโมงจนกว่าจะ Stable ก่อนให้เลือดแพทย์จะให้ยา Premed คือ PCM CPM และ lasix ต้องดูแลให้เลือดหมดโดยใช้เวลา 3-4 ชั่วโมง
หลังจากนั้นติดตามค่า Hct หลังให้เลือด หมดแล้ว 4 ชั่วโมง แนะนาให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารที่มีโปรตีนและธาตุเหล็กสูง เพื่อสร้างเม็ดเลือด อีกเรื่องที่สาคัญคือการให้ เลือดที่ติดต่อกัน ต้องเฝ้าระวังภาวะชักจากความดันสูง
3 รับประทานอาหารที่สุกใหม่
การดูแลป้องกันเลือดออกง่ายหยุดยาก
แพทย์อาจมีแผนการรักษาให้ Platlet concentration หลักการให้คือให้หมดภายใน 1⁄2 -1 ชั่วโมง เนื่องจากมี half life สั่น การให้จึงต้องให้หยดแบบ free flow
นางสาว สุรีรัตน์ พึงประสพ รุ่น 36/2 เลขที่ 46 รหัส 612001127