Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน (Health out comes and Unit cost) - Coggle…
ผลลัพธ์ทางสุขภาพและต้นทุน
(Health out comes and Unit cost)
สภาวะสุขภาพ
“สภาพของการมีชีวิต ทางกายภาพ ทางจิตใจ และทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช้
เพียงไม่มีโรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น”
คำถามที่ต้องการคำตอบ
1.FFICACY ดีจริงหรือไม่
2.FFECTIVENESS ได้ผลในทางปฏิบัติหรือไม่
3.FFICIENCY คุ้มกับต้นทุนหรือไม่
4.QUITY เป็ นธรรมหรือไม
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ไม่ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง
“ประสิทธิภาพเชิงเทคนิค (Technical efficiency)”
สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่ำที่สุด
“ความคุ้มค่า (Cost effectiveness)”
สร้างผลผลิตตามชนิดและปริมาณที่คนทั้งหลายให้คุณค่าสูงที่สุด
“ประสิทธิภาพในการจัดสรร (Allocative efficiency)”
ผลลัพธ์ทางสุขภาพในการประเมินทางเศรษฐศาสตร
Outcomes in economic evaluation
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เป็น
ต้นทุน (costs)
และผลลัพธ์(benefits)การประเมินระหว่าง
การวัดผลทางสุขภาพมีความสำคัญในการประเมิน
อะไรถือว่าเป็น
แหล่งข้อมูลที่ดีของการวัดผลทางสุขภาพ
การประเมินสุขภาพ
การวัดผลลัพธ์ในรูปของสภาวะสุขภาพ มีความซับซ้อน และยุ่งยากมากกว่าโครงการต่าง และบริการทางการแพทย์มีความแตกต่างกันที่จุดมุ่งหมายและวิธีการ ถึงแม้ว่าจะมีจุดมุ่งหมายให้ผู้ป่วยมีสุขภาพดี
Measuring health
การวัดผลลัพธ์สุขภาพสามารถ
รถวัดได้หลากหลาย โดยเน้นการวัดี่ดูการเปลี่ยนแปลงด้านสุขภาพ
Valuing health
การให้ค่าสุขภาพเป็นอีกทางเลือกหนึ่งโดยวิธีการหาอัตราให้น้ำหนัก
วงจรการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน
ต้นทุนที่อยู่ในรูปของตัวเงิน
ต้นทุ่นและการวิเคราะห์ระบบ
ผลผลิต (OUTPUT)
1.บริการ OPD จำนวนคร้ังของบริการ
2.บริการ IPD จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน
3.การเรียนการสอน จำนวนนักศึกษา
4.งานวิจัย จำนวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
1.Cost Centre Approach
ใช้ระบบบัญชีแบบดั่งเดิมมีความเรียบง่ายความเที่ยงตรงและตรวจสอบได้ง่าย
จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็ นหน่วยงานต้นทุน
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
หาต้นทุนรวมทั้งหมด
หาต้นทุนต่อหน่วย
2.Activity Approach(Activity based costing: ABC)
การกระทำการบัญชีต้นทุนกิจกรรมนอกจากเน้นการระบุกิจกรรมของกิจการแล้วยังพยายามระบุต้นทุนของกิจกรรมที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจการออกมาเป็นผลผลิตได้
3.การคำนวณต้นทุนทางลัด
เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี
ปัจจัยที่ส่งผลการวิเคราะห์ต้นทุนแตกต่างกัน
แหล่งข้อมูลที่ต่างกันส่งผลให้ได้ข้อมูลต้นทุนแตกต่างกัน
วิธีการวิเคราะห์ต่างกัน ต้นทุนทางเศรษฐศาสตร์
การวิเคราะห์ต้นทุนมุมมองต่างกัน
การการกระจายต้นทุนต่างกัน
การใช้ข้อมูลและเวลาที่ต่างกัน
ประโยชน์ของการศึกษาข้อมูลต้นทุน
1.ทำให้มีข้อมูลและสามารถนำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด
2.ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ
3.ใช้ค้านวณอัตราคืนทุน
4.ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหาร