Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
A Beautiful Mind, นางสาวโสรญา แก้วศรี เลขที่ 88 ห้อง 2A รหัสนักศึกษา…
A Beautiful Mind
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
คิดว่ามีคนลอบทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้กระทำ
เห็นภาพที่ตนเองสร้างขึ้นมาเอง
เห็นคนตามลอบทำร้าย
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายภรรยาและลูกโดยไม่ได้ตั้งใจ
ไม่เข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
อยู่คนเดียวเป้นประจำ
ด้านพฤติกรรม
เดินหลังค่อม
มองซ้ายขวาตลอดเวลา
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
มักก้มหน้า ไม่สบตาคน
ตอบโต้คนในจิตนาการที่ไม่มีตัวตน
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านครอบครัว
ครอบครัวตำหนิ
ครอบครัวไม่พร้อมกับการแก้ไขปัญหา
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ต้องการเป็นคนที่มีคุณค่าในตนเอง
ต้องการเป็นที่ยอมรับของคนในสังคม
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
การรักษาที่คาดว่าควรได้รับ
Psychotherapy,Indivivual,Group,Behaviral,Dupportive,Family Therapy
2.Milieu Therapy เน้นการจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
3.การรักษาด้วยยา Ex. Antipsychotic drugs,Antiparkinson agents
4.Somatic or Electroconvulsive Therapy
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ป่วยชื่อ นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์
ประวัติครอบครัว
มีภรรยาชื่อ อลิเซีย และมีลูกด้วยกัน 1 คน
บิดาประกอบอาชีพวิศกร มารดาเป็นครูสอนภาษา
มีน้องสาว 1 คน
สัมพันธภาพกับคนในครอบครัว
pt.เคยเป็นภาพหลอนจนเกือบทำร้ายภรรยาและลูก
pt.ไม่มีความรู้สึกทางเพศ ทำให้ไม่สามารถมีเพศสัมพันธุ์กับภรรยาได้
เก็บตัว ไม่พูดคุยกับใคร
คาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
หมายถึงบุคคลที่มีจิตใจแตกแยก มีความผิดปกติทางความคิด มีผลถึงการรับรู้ อารมณ์ และพฤติกรรม
เป็นโรคที่มีความผิดปกติทางกระบวนการคิด และไม่มีพยาธิสภาพทางสมอง โดยผู้ป่วยไม่มีอาการทางกาย หรือสูยญเสียการทำงานของอวัยวะทางสมองส่วนใด
อาการสำคัญ
ความผิดปกติทางความคิด
ขาดการเชื่อมโยงเหตุผล ไม่สามารถลำดับความคิดได้ มักเปลี่ยนจากเรื่องหนึ่งไปอีกเรื่องหนึ่ง พูดไม่ตรงจุด พูด้ำๆโดยไม่มีความหมาย
ความผิดปกติของการรับรู้
ประสาทหลอน รับรู้ดดยไม่มีสิ่งมากระตุ้นจากภายนอก
ความผิดปกติของอารมณ์
pt.มักอารมณ์เฉยเมย ไม่แสดงความรู้สึกใด ๆ ไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
ความผิดปกติของการเคลื่อนไหว
Ex. นั่งโยกตัวตลอดเวลา อยู่ท่าใดท่าหนึ่งนานๆ ไม่มีการเคลื่อนไหว ไม่พูด มักพบร่วมกับอาการง่วงซึม
โรคจิตหลงผิด (Delusiomal disorder)
ความเชื่อความคิดไม่ถึงกับความเป้นจริง อาการหลงผิดที่พบบ่อย คือระแวงว่าตนเองถุกกลั่นแกล้ง ถูกปองร้าย
ผู้ป่วยมักจะยังทำหน้าที่ได้ตามปกติ ยกเว้นบางกิจกรรม เช่น คิดว่าตนเองถูกเพื่อนร่วมงานกลั่นแกล้งอาจขอลาออก ผู้ป่วยมักไม่รู้ตัวว่าตนเองมีอาการหลงผิด
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑
การนำบุคคลที่มีภาวะอันตรายหรือมีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษาให้ได้รับการบำบัดรักษา ภาวะอันตรายที่กล่าวถึงคือ อันตรายที่เกิดขึ้นจากความผิดปกติทางจิต ที่แสดงออกมาทางพฤติกรรม อารมณ์ ความคิดหลงผิดหรือพฤติกรรมที่เป็นเหตุให้เกิดอันตรายต่อชีวิต ร่างกาย หรือทรัพย์สินของตนเองหรือผู้อื่น เช่น เมื่อมีผู้ป่วยทางจิตมีพฤติกรรมอาละวาด ทำร้ายคนรอบข้าง ผู้ที่พบเห็นสามารถแจ้งพนักงานเจ้าหน้าที่ พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจ ให้ดำเนินการพาบุคคลนั้นไปยังโรงพยาบาลหรือสถานพยาบาลของรัฐ หรือสถานบำบัด เพื่อให้บุคคลผู้นั้นได้เข้ารับการรักษาอาการทางจิต หรือพฤติกรรมผิดปกตินั้นในโรงพยาบาล แม้ว่าผู้ป่วยจะไม่ยินยอมเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลก็ตาม กล่าวโดยสรุปคือ พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ. ๒๕๕๑ เน้นการบังคับรักษาผู้ป่วยทางจิต แม้ผู้ป่วยจะไม่ยินยอม ถือเป็นการให้ความคุ้มครองเจ้าพนักงานตำรวจ หรือเจ้าหน้าที่โรงพยาบาลที่เอาตัวผู้ป่วยไว้รักษาในโรงพยาบาล โดยไม่ถือว่าเป็นการกักขังหน่วงเหนี่ยวแต่อย่างใด
นางสาวโสรญา แก้วศรี เลขที่ 88 ห้อง 2A
รหัสนักศึกษา 613601094