Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์, นางสาวธนกานต์แก้วมา…
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
พัฒนาการมากกว่า100 ปี มีความสัมพันธ์กันหลายฉบับ เดิมอยู่ในความควบคุมของแพทย์
รัชกาลที่ 6 ออกกฎหมายขึ้นควบคุมการให้บริการด้านการดูแลสุขภาพแก่ประชาชน กฎหมายกำหนด การบำบัดโรคทางยาและ ทางผ่าตัด รวมทั้งการผดุงครรภ์ การช่างฟัน การสัตวแพทย์ การปรุงยา การพยาบาล การนวดหรือการรักษา คนเจ็บป่วยไข้โดยประการใดๆ”
2472 แก้ไขโดยการตัดสาขาสัตวแพทย์ออกโดยให้การประกอบโรคศิลปะ
2480 ใช้กฎหมายฉบับใหม่ควบคุมการประกอบโรคศิลปะ
2479 โรคศิลปะออกเป็น 2 แผน ได้แก่ แผนโบราณ และแผนปัจจุบัน และกำหนดความหมายของโรคศิลปะไว้ ว่า “กิจการใด ๆ อันกระทำโดยตรงต่อร่างกายของมนุษย์โดยการบำบัด รวมตลอดถึงการตรวจและการป้องกัน โรคในสาขาต่างๆ ได้แก่ เวชกรรม ทันตกรรม เภสัชกรรม การพยาบาล การผดุงครรภ์”
พ.ศ. 2518 เพิ่มอีก 2 สาขา กายภาพบำบัดและเทคนิคการแพทย์ ผู้นำได้พิจารณาจากการที่แพทย์แผนปัจจุบันได้แยกตัวออกจากการควบคุม มีแพทยสภาเป็นองค์กรวิชาชีพของตนเกิดการพัฒนาวิชาชีพไปในทิศทางที่เป็นประโยชน์ พยาบาลจึงมีสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย หาแนวทางการจัดตั้งสภาการพยาบาล
2528 ใช้ “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528” กฎหมายควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาล แยกจากควบคุมการประกอบโรคศิลปะ
2479 เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2534 กฎหมายฉบับนี้ไม่ทันสมัย ปรับปรุงสาระสำคัญ ได้แก่ คำนิยามการพยาบาลและการผดุงครรภ์ การกำหนดขอบเขต จำนวนกรรม นายกสภาการพยาบาล การสอบขอขึ้นทะเบียน รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ ต่ออายุ ทุก 5 ปี ปรับ อัตราค่าธรรมเนียมและได้
“พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540” เล่ม 114 ตอนที่ 75ก วันที่ 23 ใช้ในวันที่ 24 ธ.ค. 2540 จนถึงปัจจุบัน
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์
สภาพบังคับทางแพ่ง
โมฆะกรรม หมายถึง ความเสียเปล่าของนิติกรรม ที่กระทำตั้งแต่ต้น
นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
นิติกรรมที่ไม่ได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำหนด
การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม
โมฆียกรรมหมายถึง การทำนิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ในขณะกระทำ แต่สามารถบอกล้าง
ความสามารถของบุคคล
การแสดงเจตนาโดยวิปริต
การบังคับชำระหนี้ เป็นการชำระเงิน ส่งมอบทรัพย์สิน
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน หมายถึง การที่กฎหมายรับรองและคุ้มครอง สิทธิผู้เสียหายให้กลับคืนสู่ฐานะเดิม
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
ความสามารถของบุคคล หมายถึง กำหนดขอบเขตมีสิทธิหรือใช้สิทธิ บรรลุนิติภาวะจะตัดสินใจกระทำสิ่งต่างๆ ด้วยตนเอง
บุคคล สามารถมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
บุคคลธรรมดา อยู่รอดเป็นทารก และสิ้นสุดลงเมื่อตาย
การตายโดยธรรมชาติ และการสาบสูญ
นิติบุคคล สิ่งซึ่งกฎหมายสมมติให้เป็นบุคคล เพื่อให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
กฎหมายจึงจำกัดสิทธิของบุคคล ตามความหนักเบาของความหย่อนความหย่อนความสามารถ
ผู้เยาว์ (Minor) บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะ พ้นอายุครบ 20 ปีบริบูรณ์ หรือการสมรส
คนไร้ความสามารถคือ คนวิกลจริต ที่คู่สมรส ผู้สืบสันดาน ผู้อนุบาล หรือพนักงานอัยการยื่นเรื่องต่อศาล
คนเสมือนไร้ความสามารถ บุคคลที่ไม่สามารถ จัดท าการงานโดยตนเอง บกพร่องอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังนี้ กายพิการ จิตฟั่นเฟือน ประพฤติสุรุ่ยสุร่าย ติดสุรายาเมา การยกเลิกเป็นคนเสมือนไร้ความสามารถกระทำได้
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
สามีภริยา เป็นผู้จัดการสินสมรสร่วมกัน
อายุความ คือ ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้บุคคลมีสิทธิเรียกร้องค่าเสียหายภายในระยะเวลาที่ กฎหมายก าหนด
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
สัญญา หมายถึง การกระทำของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป
ความรับผิดจากการละเมิด หมายถึง การกระทำหรืองดเว้นการกระทำ
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย หมายถึง การกระทำที่ทำให้บุคคลอื่นขาดประโยชน์
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย หมายถึง การประทุษกรรม
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
นายจ้างต้องร่วมรับผิดกับลูกจ้างในผลแห่งการละเมิด
ตัวการต้องรับผิดชอบผลแห่งการละเมิดของตัวแทน
บิดามารดาของผู้เยาว์หรือผู้อนุบาลของผู้วิกลจริต
ครูบาอาจารย์ นายจ้างหรือบุคคลอื่น ซึ่งรับดูแลผู้ไร้ความสามารถอยู่เป็นนิตย์ จะต้องร่วมรับผิดกับผู้ไร้ความสามารถในการละเมิด
ความหมาย
กฎหมายแพ่ง เป็นกฏหมายที่กำหนดสิทธิ หน้าที่ และ ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล
กฎหมายพาณิชย์เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ ที่ทำในเรื่องหุ้นส่วน
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง กฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการด าเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีกฎหมายแพ่ง
นิติกรรม
องค์ประกอบของนิติกรรม
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน กฎหมายให้อำนาจบุคคลกระทำได้ หรือไม่ได้กำหนดไว้ว่าห้ามทำหาก ขัดต่อกฎหมายความสงบ ศีลธรรมอันดีให้ถือเป็นโมฆะ นิติกรรมที่ทำกับผู้หย่อนความสามารถจะเป็นโมฆียะ
การกระทำโดยเจตนา ทำอย่างหนึ่งอย่างใดด้วยสมัครใจ
โดยปริยาย ไม่ชัดแจ้งแต่การกระทำอื่นๆ ที่ทำให้ต่าง ฝ่ายต่างเข้าใจว่ามีประสงค์ใดในกิริยาเช่นนั้น หากผู้กระทำไม่รู้ ย่อมไม่ใช่นิติกรรม
โดยชัดแจ้ง อาจทำโดยวาจา เป็นลายลักษณ์อักษร
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย ให้อำนาจบุคคลทำได้ โดยชัดแจ้งหรือกฎหมายไม่ได้กำหนดไว้ว่าห้ามทำ
ทำให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ กระทำที่ชอบดวยกฏหมาย เกิดการเลี่ยนแปลง โอน สงวน ระงับสิทธิแก่คู่กรณี
มาตรา 149 “นิติกรรม หมายความว่า การใดๆ อันท าลงโดยชอบด้วยกฎหมายและด้วยใจสมัคร มุ่งโดยตรงต่อการผูกนิติสัมพันธ์ขึ้นระหว่างบุคคล เพื่อจะก่อ เปลี่ยนแปลง โอน สงวน หรือระงับซึ่งสิทธิ”
หมายถึง การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมายเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล
ประเภทของนิติกรรม
แบ่งตามจำนวนคู่กรณี
หลายฝ่าย การแสดงเจตนาของบุคคลตั้งแต่สอง ฝ่ายขึ้นไป ทุกฝ่ายยินยอมตามข้อตกลง
ฝ่ายเดียว เกิดผลโดยการแสดงเจตนาของบุคคลเพียงฝ่ายเดียว ผูกพันทางกฎหมาย
แบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
ขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
ขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
แบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาลและการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ การกระทำหรือการพยาบาลโดยขาดความระมัดระวัง
ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
ความบกพร่องด้านการสื่อสา
ความบกพร่องด้านการบันทึก
ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพกับการปฏิเสธการรักษา
ประมาทำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ตาบอด หูหนวก ลิ้นขาด หรือเสียฆานประสาท
เสียอวัยวะสืบพันธุ์ หรือความสามารถสืบพันธุ์
เสียแขน ขา มือ เท้า นิ้ว หรืออวัยวะอื่นใด
หน้าเสียโฉมอย่างติดตัว
แท้งลูก
จิตพิการอย่างเต็มตัว
ทุพพลภาพหรือเจ็บป่วยเรื้อรัง
พพลภาพหรือเจ็บป่วยด้วยอาการทุกขเวทนาเกินกว่า 20 วัน
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายเล็กน้อยแก่ร่างกายหรือจิตใจ
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับ
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร การปลอมเอกสารและการทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
ความผิดฐานปลอมเอกสาร
ทำเอกสารปลอมขึ้นทั้งฉบับหรือบางส่วน
นำเอกสารปลอมที่ทำขึ้นไปใช้ในทางที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่น
ความผิดฐานปลอมเอกสาร รวมถึงผู้ที่กรอกข้อความลงในแผ่นกระดาษหรือวัตถุอื่นใดให้ถือว่าผู้นั้นปลอมเอกสาร ต้องระวางโทษเช่นเดียวกัน
ความผิดฐานทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
เป็นผู้ทำคำรับรองเป็นเอกสารเท็จ หรือเป็นผู้ใช้หรืออ้างคำรับรองนั้นโดยทุจริต
ใช้เอกสารเท็จนั้นในทางที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้อื่นและประชาชน
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 2 ปี หรือปรับไม่เกิน 40,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย ความผิดฐานนี้เกี่ยวกับผู้มีหน้าที่ตามกฎหมายหรือสัญญาที่ ต้องดูแลผู้ซึ่งพึ่งตนเองไม่ได้
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
รู้ความลับผู้อื่นมาเนื่องจากการประกอบอาชีพหรือจากการศึกษาอบรม
ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
เปิดเผยความลับนั้น ในประการที่น่าจะเกิดความเสียหายแก่ผู้หนึ่งผู้ใด
ข้อยกเว้นตามหลักเกณฑ์
เป็นข้อผูกพันหรือหน้าที่
โรคติดต่อร้ายแรงเสี่ยงต่อการแพร่ระบาด
ในกรณีที่ผู้ป่วยไม่อาจรับผิดชอบหรือตัดสินใจด้วยตนเอง
คำสั่งศาล
ผู้ป่วยรับรู้และยินยอมให้เปิดเผย
การรายงานการทุบตีทำร้ายร่างกายในครอบครัว
รายงานบาดแผลที่ผู้ป่วยมารักษา
แนวปฏิบัติในการรักษาความลับของผู้ป่วย
ไม่นำบันทึกรายงานของผู้ป่วยออกจากหอผู้ป่วย
ไม่เปิดเผยข้อมูลของผู้ป่วยแก่ญาติหรือคนอื่น โดยผู้ป่วยไม่ยินยอม
กรณีศึกษาของนักศึกษาพยาบาล ไม่ควรเขียนนามสกุลจริงของผู้ป่วย
ระมัดระวังการพูดเกี่ยวกับการวินิจฉัย และการรักษาในห้องผู้ป่วยที่เป็นห้องรวม
ไม่วางแฟ้มประวัติหรือเขียนการวินิจฉัยไว้ที่ปลายเตียง/หน้าห้องผู้ป่วย
หากส่งข้อมูลเกี่ยวกับผู้ป่วยที่เป็นความลับ ใส่ซองปิดผนึกและประทับตรา “ลับ”
ไม่นำเรื่องของผู้ป่วยมาวิพากษ์วิจารณ์ให้บุคคลภายนอกได้ยินหรือพูดในที่สาธารณะ
อภิปรายข้อมูลผู้ป่วยเฉพาะกับผู้ร่วมทีมสุขภาพ และเฉพาะส่วนที่เกี่ยวข้องกับการ รักษาพยาบาลเท่านั้น
จัดเก็บรายงานผู้ป่วยไว้เป็นสัดส่วน และทบทวนระเบียบยืมแฟ้มประวัติผู้ป่วย/เวช ระเบียน เมื่อมีการส่งไปให้คำปรึกษา/ส่งต่อ หรือนำไปใช้เพื่อการศึกษา
โรงพยาบาลควรมีนโยบายจำกัดการเข้าถึงข้อมูลส่วนตัวของผู้ป่วย การสืบค้นข้อมูล ทางคอมพิวเตอร์
จัดทำระเบียบการขอสำเนาเวชระเบียนของผู้ป่วยต่อบุคคลที่สาม เพื่อเป็นแนวทาง ปฏิบัติแก่บุคลากรในหน่วยงาน และป้องกันการนำความลับของผู้ป่วยไปใช้ในทางเสื่อมเสียแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
การทำให้หญิงแท้งลูก ได้รับการยกเว้นความผิดหรือเป็นการทำแทงที่ถูกกฎหมาย
การทำให้ตนเองแท้งลูก
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายยินยอม
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายไม่ยินยอม
การพยายามทำให้หญิงแท้งลูก
การทำให้หญิงแท้งที่ถูกกฎหมาย
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต เป็นโทษสูงสุด
โทษจำคุก เป็นโทษจำกัดเสรีภาพของนักโทษที่ถูกควบคุมไว้ในเรือนจำ
โทษกักขัง เป็นโทษที่เปลี่ยนจากโทษอย่างอื่นมาเป็นโทษกักขัง
โทษปรับ การเสียค่าปรับ
โทษริบทรัพย์สิน ศาลมีอำนาจสั่งริบทรัพย์สิน
ลหุโทษ หมายถึง ความผิดที่ต้องระวางโทษจ าคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท
การทำงานเพื่อบริการสังคม
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ หมายถึง การเคลื่อนไหวร่างกาย หรือไม่เคลื่อนไหวร่างกาย โดยรู้สำนึกและอยู่ ภายใต้การบังคับของจิตใจ
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ ซึ่งเป็นลักษณะสำคัญของ ความรับผิดตามกฎหมายอาญา ที่สอดคล้องตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญที่ให้สันนิษฐาน
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา ความผิดทางอาญานอกจากมีการกระทำที่เป็น องค์ประกอบภายนอกแล้ว
การกระทำโดยเจตนา หมายถึง การกระทำโดยรู้สำนึกในการที่กระทำและในขณะเดียวกัน ผู้กระทำประสงค์ต่อผลหรือเล็งเห็นผลของการกระทำนั้น
การกระทำโดยประมาท หมายถึง การกระทำโดยปราศจากความระมัดระวัง
วิสัย หมายถึง ลักษณะที่เป็นอยู่ของบุคคลผู้กระทำหรือสภาพภายในตัวผู้กระทำ
พฤติการณ์ หมายถึง ข้อเท็จจริงประกอบการกระทำหรือเหตุภายนอกของผู้กระทำ
การกระทำโดยไม่เจตนา หมายถึง การกระทำที่ผู้กระทำไม่ได้ตั้งใจให้เกิด และไม่คาดคิดว่า จะเกิดจากการกระทำนั้น
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา การกระทำของบุคคลที่เป็นความผิดทางอาญา หากกฎหมายระบุเหตุเพื่อยกเว้นความรับผิด ยกเว้นโทษ หรือลดหย่อนโทษ หรือได้รับโทษน้อยลง
เหตุยกเว้นความรับผิด หมายถึง การกระทำที่โดยทั่วไปกฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด แต่ถ้ามีเหตุการณ์หรือสภาพแวดล้อมบังคับให้ผู้กระทำต้องกระทำเช่นนั้น
เหตุยกเว้นโทษ หมายถึง การกระทำที่เป็นความผิดทางอาญาที่ผู้กระทำไม่ต้องรับโทษ หากมีเหตุอันควรที่กฎหมายระบุ
เหตุลดหย่อนโทษ หมายถึง มีพฤติการณ์หรือเหตุการณ์ที่น่าเห็นใจ หรือมีเหตุเป็นคุณ แก่ผู้กระทำความผิด ให้หย่อนโทษได้
อายุความ หมายถึง ระยะเวลาที่กฎหมายกำหนดให้ต้องฟ้องร้องผู้กระทำความผิด หรือนำตัว ผู้กระทำความผิดมาที่ศาล เพื่อพิจารณาพิพากษาลงโทษภายในกำหนด
อายุความฟ้องคดีทั่วไป
อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
ความหมายและวัตถุประสงค์ของกฎหมายอาญา บัญญัติว่าการกระทำใดเป็นความผิด และกำหนดโทษอาญาแก่ ผู้ฝ่าฝืน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อควบคุมความประพฤติของบุคคลให้อยู่ในสังคมด้วยความสงบเรียบร้อย รักษา โครงสร้างของสังคมให้มั่นคง
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน เป็นความผิดที่สำคัญและร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายและสังคมส่วนรวม
ความผิดต่อส่วนตัว เป็นความผิดที่ไม่ร้ายแรง มีผลกระทบต่อผู้เสียหายฝ่ายเดียว และ กฎหมายบัญญัติประเภทไว้ชัดเจน
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง ในขณะที่กระทำผิด ต้อง มีกฎหมายบัญญัติความผิดและโทษเป็นลายลักษณ์อักษรอย่างชัดเจน
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร การตีความ หมายถึง การถอดความหมายของข้อความ หรือศัพท์ต่างๆ ในบทบัญญัติออกมา
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ หมายถึง จะไม่มีผลในการเพิ่มโทษแก่บุคคล
นางสาวธนกานต์แก้วมาลัย 6001210415 เลขที่ 16 Section A