Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การรักษาดุลยภาพของเซลล์ - Coggle Diagram
การรักษาดุลยภาพของเซลล์
องค์ประกอบของเซลล์ประกอบด้วยน้ำ และสารต่างๆ
เซลล์ต้องมีการรักษาสมดุลตลอดเวลา เพื่อรักษาองค์ประกอบให้สมบูรณ์ และทำงานอย่างปกติ
รักษาโดยการลำเลียงสาร เข้า-ออก
ถึงเซลล์จะมีระบบปิด (close system) แต่เซลล์ก็มีการลำเลียงสาร คือCell transport
Cell transport (ไม่ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์-vestical medioted transport)
Endocytosis (การนำสารเข้าสู่เซลล์)
Phagocytosis
Cell eating
การนำสารโมเลกุลขนาดใหญ่และเป็นของแข็ง หรือใหญ่กว่าเซลล์ เข้าสู่เซลล์ (ใช้ psudopodium ยื่นเยื่อหุ้มโอบล้อมสารนั้นๆ)
Pinocytosis
Cell drinking
การนำสารที่เป็นของเหลว หรือสารละลายเข้าสู่เซลล์ (โดยการเว้าของเยื่อหุ้มเซลล์ โดยมี Microfilament อยู่ข้างใต้เื่อหุ้มเซลล์)
Receptor-mediated endocytosis
การนำสารเข้าสู่เซลล์โดยอาศัยตัวรับ
มีโปรตีนบนเยื่อหุ้มเป็นตัวรับ
สารที่ถูกลำเลียงจะต้องมีความจำเพาะ ในการจับโปรตีนตัวรับ
Exocytosis (การนำสารออกจากเซลล์)
ลำเลียงโดยการบรรจุอยู่ในถุง แล้วค่อยๆเคลื่อนมาเชื่อมกับเยื่อหุ้มเซลล์ก่อนปล่อยออกจากเซลล์
เช่นการหลั่งสารต่างๆ
เป็นการลำเลียงสารขนาดใหญ่ โดยเยื่อหุ้มเซลล์จะทำการห่อสารนั้นเป็นถุง
Cell transport (ผ่านเยื่อหุ้มเซลล์)
Passive transport (แบบไม่ใช่พลังงาน)
ลำเลียงสารจากความเข้มข้นของสารละลายมาก → น้อย
Simple diffusion (การแพร่แบบธรรมดา)
เป็นการเคลื่อนที่ของ“ตัวถูกละลาย (Solute)” จากเข้มข้นมากไปยังบริเวณที่มีความเข้มข้นน้อย จนกว่าจะถึงสมดุลการแพร่
บริเวณที่เกิดแพร่ คือPhospholipid bilayer โดยไม่อาศัยตัวพา
ปัจจัย
อุณหภูมิ/ความดัน
ความแตกต่างของความเข้มข้นของสาร
สิ่งเจือปนและชนิดของสารตัวกลาง
ขนาดและน้ำหนักโมเลกุล
สถานะ
ประเภทของสารที่เกิดการแพร่แบบธรรมดา
ตัวถูกละลายที่มีขนาดเล็ก
โมเลกุลสารที่ไม่มีขั้ว
วิตามินที่ละลายในไขมัน
อนุภาคของแข็งซึ่งแขวนลอยในตัวกลางของเหลวได้
Facilitated diffusion
ต้องอาศัยตัวพา( Protein channel, Protein carrier → มี
ความจำเพาะต่อสารที่ลำเลียง) จากความเข้มข้นสูงไปต่ำ
เมื่อสารที่ถูกลำเลียงมีความเข้าข้นมาก จนถึงจุดๆหนึ่งความเร็วจะคงที่เพราะ ตัวพามีจำกัด ต่างจากแบบธรรมดาที่เพิ่มความเร็วตามความเข้มข้น
เกิดได้เร็วกว่าแบบธรรมดา
ประเภท
ไอออนของสารขนาดเล้กที่มีขั้ว
ตัวถูกละลายขนาดใหญ่
Osmosis
การเคลื่อนที่ของน้ำที่เป็นตัวทำละลายผ่านเยื่อเลือกผ่าน เคลื่อนที่จากความเข้มข้นต่ำไปสูง
เกิดการเปลี่ยนปริมาตรเนื่องจากเป็นการเคลื่อนที่ของตัวทำละลาย
เมื่อระดับของเหลวคงที่จะเข้าสู่ภาวะสมดุล ทำให้เกิดแรงดันออสโมติก(OP) มี่หน่วยเป็น atm [OP แปรผันตามความเข้มข้นของสารละลาย]
มี3ประเภท
Hypertonic solution เป็นสารละลายที่มีความเข้มข้นสูงเมื่อเทียบกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ ทิศทางของน้ำจึงออกจากเซลล์ ทำให้เซลล์เหี่ยว
Hypotonic solution เป็นสารละลายที่มีความเข้มข้นน้อยเมื่อเทียบกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ ทำให้เซลล์เต่ง (Plasmoptysis) ถ้าเซลล์สัตว์เต่งมาก อาจจะแตกได้ (Hemolysis)
Isotonic solution เป็นสารละลายท่ีมีความเข้มข้นเท่ากับกับความเข้มข้นของสารละลายภายในเซลล์ ทำให้น้ำเคลื่อนที่เข้า-ออกในอัตราที่เท่ากัน
Dialysis
ตัวถูกละลายเคลื่อนที่ผ่านเยื่อเลือกผ่าน จากความเข้มข้นสูงไปต่ำ (ตรงกันข้ามกับออสโมซิส)
นำหลักการไปสร้างเครื่องฟอกไตเทียม
Ion exchange
ต้องเป็นขั้วเดียวกัน
Imbibition (การดูดซับน้ำ)
พบในพืช
อาศัยสารสำคัญใน Cellwall (Cellulose และ Pectin)
มีประโยชน์ต่อการงอกของเมล็ด และการลำเลียงน้ำ
Active transport (แบบใช้พลังงาน)
เคลื่อนที่ความเข้มข้นของสารละลายน้อย → มาก (ย้อน
concentration gradient)
ใช้สารพลังงานคือ ATP
ใช้Protein carrier คล้ายFacilitated
แบ่งเป็น 2 ประเภท
Primary active transport เป็นการลำเลียงสารใน
ทิศทางเดียวต่อการลำเลียง 1 ครั้ง
Secondary active transport เป็นการลำเลียงสาร
2 ทิศทางต่อการลำลียง 1 ครั้ง
อาศัยพลังงานจลน์ของสาร ทำให้เกิดการเคลื่อนที่ ตามกฎข้อที่2 ของThermodynamics