Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ Health system and Health Economics -…
ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์สุขภาพ
Health system and Health Economics
สาธารณสุข (Health)
สาธารณสุขศาสตร์ “ศาสตร์และศิลปะที่เกี่ยวข้องกับการดูแลและจัดการสุขภาพ
ทั้งปวงของชุมชนโดยอิงตามการวิเคราะห์ด้านสุขภาพของประชากร ”
สภาพของการมีชีวิตทางกายภาพ ทางจิตใจและทางสังคมที่สมบูรณ์ ไม่ใช่เพียงไม่มี โรคภัยหรือความเจ็บป่วยทางกายเท่านั้น“
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข (Health economics)
ทรัพยากรสุขภาพมีจำกัด
Resources are scarce
ความต้องการของมนุษย์ไม่จำกัด
Wants (needs) are ‘infinite’
เกิดความขาดแคลน
‘Scarcity’
การแก้ปัญหาการขาดแคลน คือการตัดสินใจหาทางเลือก
Choice is inevitableใช้ทรัพยากรสุขภาพที่มีอยู่อย่างจำกัดให้เกิดประโยชน์สูงสุดในการจัดบริการสุขภาพ
ทางเลือกที่เกิด
ประสิทธิภาพในการจัดบริการสุขภาพ
Efficienc
ทางเลือกที่เกิดความ
เป็นธรรมในการจัดบริการสุขภาพ
Equity
องค์ประกอบ และคำถามเบื้องต้นในการศึกษาเศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
สุขภาพ (Health)
• มีการให้คุณค่าอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าทั่วไป
• สุขภาพวัดได้อย่างไร
• สุขภาพคืออะไร
ระบบการให้บริการสาธารณสุข
(Health care system)
มีระบบการทำอย่างไร
ปัจจัยและวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิต
การดำเนินการทางด้านการักษาพยาบาล
(Health care service)
• ความจำเป็น (Needs) และอุปสงค์(Demand)
• ผู้ป่วยควรจ่ายเท่าไหร่
ผลสืบเนื่องจากความเสมอภาค และประสิทธิภาพ
• โรงพยาบาลควรจะคิดเท่าไหร
ด้านการจัดสรรทรัพยากรสาธารณสุข
ต้นทุน
ประโยชน์และนโยบาย
ระบบสุขภาพ (Health care system)
แบ่งเป็น 4 ประเภท
• ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม
รัฐเข้าไปจัดการสุขภาพอย่างสิ้นเชิง และไม่
อนุญาตให้มีกลไกการตลาดใดๆประชาชนทุกคนได้รับบริการจากรัฐ
ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียมกัน
รัฐได้มีบทบาทในระบบบริการ
สุขภาพมาก เพื่อให้ประชาชนได้รับบริการสุขภาพอย่างครอบคลุม ประชาชนสามารถรับบริการโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วยตัวเอง
ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ
รัฐมีส่วนเข้าไปแทรกแซงกลไกการตลาดน้อย หน่วยบริการส่วน
ใหญ่เป็นเอกชนเป็นความรับผิดชอบของบุคคลที่จะดูแลตัวเอง
จัดหาสาธารณูปโภคให้แก่ประชาชน
รักษากฎหมาย
รัฐรักษาระดับมาตรฐานการครองชีพขั้นต่ำของประชาชน
หมายถึง ระบบการจัดการสุขภาพทั้งมวล ที่เกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กัน ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ และปัจจัยต่าง ที่เกี่ยวกับสุขภาพ
การเข้าถึงบริการ
(Accessibility)
• ความเพียงพอของบริการที่มีอยู่ (Availability) ความสัมพันธ์ระหว่างบริการที่มีอยู่ กับ ชนิดของผู้ใช้บริการ
การเข้าถึงแหล่งบริการ (Accessibility) ความสัมพันธ์ระหว่างสถานที่ตั้งของแหล่งบริการ กับ ความสามรถที่ผู้บริการจะไปถึงแหล่ง
ความสะดวกและสิ่งอำนวยความสะดวกของแหล่งบริการ (Accommodation)
ความสัมพันธ์ของแหล่งบริการ กับ การยอมรับของผู้ใช้บริการว่าสะดวก
ความสามารถในการจ่าย (Affordability) ความสัมพันธ์ของค่าใช้จ่ายของบริการกับ รายได้ของผู้รับบริการ
การยอมรับคุณภาพ (Acceptability) ความสัมพันธ์ระหว่างทัศนคติของผู้รับบริการ กับ ผู้ใช้บริการ
ความสัมพันธ์ระหว่างระบบสุขภาพกับเศรษฐกิจ
ลักษณะที่ 1 ผลกระทบของเศรษฐกิจที่มีต่อสุขภาพ
เช่น การว่างงาน ในสภาวะ
เศรษฐกิจตกต่ำ
ลักษณะที่ 2 ผลของสุขภาพที่มีต่อเศรษฐกิจของประเทศ
เช่นด้านการควบคุมโรค
โรคระบาด และการสุญเสียประสิทธิภาพในการทำงาน
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
การผลิตสินค้าและบริการสุขภาพโดย
ภาครัฐ มีจุดหมายหลักไม่ใช่การแสวงหากำไรสูงสุด
แนวคิดในการจัดสรรทรัพยากรสุขภาพ พิจารณาจาก Need
ความจำเป็น
(Need
ลักษณะทางประชากร
• จำนวนประชากร
(Population No)
• กลุ่มอายุและเพศ (Age
and Sex group)
ลักษณะเศรษฐกิจและสังคม
• รายได้ (Incomes)
• การศึกษา (Education)
• อาชีพ (Occupation)
• พื้นที่อยู่อาศัย (Area)
ลักษณะด้านสุขภาพ
• การเจ็บป่วย (Morbidity)
• การตาย (Mortality)
• ความรุนแรงของโรค
(Disease severity
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับมหาภาค (Macroeconomic study) เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพโดยรวม
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับจุลภาค (Microeconomic study) เป็น
การศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพระดับย่อย
พฤติกรรมของผู้รับบริการ
พฤติกรรมของผู้ให้บริการ
(แพทย์ ทัตนแพทย์ พยาบาล สาธารณสุข)
การควบคุม ป้องกัน และการฟื้นฟูสภาพ
การวินิจฉัยโรค
การบำบัดรักษา
การส่งเสริมสุขภาพ
พฤติกรรมของในตลาดสุขภาพ