Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Health out comes and Unit cost - Coggle Diagram
Health out comes and Unit cost
ภาวะสุขภาพ
สภาพของการมีชีวิตทั้งทางกายภาพ ทางจิตใจ
ประสิทธิภาพ
ไม่ใช้ทรัพยากรอย่างสิ้นเปลือง
สร้างผลผลิตโดยใช้ต้นทุนต่ำที่สุด
สร้างผลผลิตตามชนิตและปริมาณที่คนทั้งหลายให้คุณค่าสูงที่สุด
ผลลัพธ์ทางสุขภาพ
การประเมินทางเศรษฐศาสตร์เป็นการประเมินระหว่าง
ต้นทุน(costs)
ผลลัพธ์ (benefits)
การวัดมีความสำคัญในการประเมิน
แหล่งข้อมูลที่ดี
Why measuring Health outcomes
เพื่อคาดคะเน health of individual and population
เพื่อประเมินผลดระทบของ health
intervention
เพื่อประเมินความครอบคลุมของด้านสังคมและเศรษฐกิจในการบริการของประเทศ
Health status evaluation
Antenatal Care
Infant morality rate
Joint pain
Movement
AIDS
CD4 > 500
Health outcomes
Measuring health
การวัดผลลัพธ์สุขภาพ
Valuing health
การให้ค่าสุขภาพ
ประเภทของผลลัพธ์ทางคลินิค
ผลลัพธ์ที่เป็นตัวแทน
ค่าที่ได็จากห้องปฏิบัติการ
ค่าสัญญาณทางกายภาพ
ข้อดี
มีค่าที่ชัดเจน
สามารถเห็นการเปลี่ยนแปลงระยะสั้น
วัดถึงค่าใช้ที่เกิดขึ้นในระยะสั้น
ข้อเสีย
ไม่ได้บ่งชี้ถึงผลลัพธ์สุดท้าย
อาจส่งผลที่คลาดเคลื่อนในด้านนโยบาย
ผลลัพธ์สุดท้าย
ความรู้สึก
การปฏิบัติหน้าที่
การรอดชีวิต
ข้อดี
เป็นตัวแทนที่สะท้อนถึงการเปลี่ยนแปลงของผลลัพธ์สุดท้าย
ครอบคลุมผลการรักษา
มีความชัดเจนด้านนโยบาย
ข้อเสีย
อาจจะนานเกินไปในการเฝาติดตามผู้ป่วย
ค่าใช้จ่ายสูง
ต้นทุนทางด้านสุขภาพ (Health care cost)
มุมมองต้นทุน
ประเภทของต้นทุน
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
ประโยชน์ของการศึกษาต้นทุน
แนวคิดและปรัชญาเศรษฐศาสตร์
'there ain't no such thing as a free lunch'
วงจรการผลิตและการบริโภคด้านสุขภาพ
ต้นทุนที่ไม่ได้อยู่ในรูปตัวเงิน
คน
อุปกรณ์
วิธีการ
ต้นทุนที่อยู่ในรูปของตัวเงิน
งบประมาณ
ต้นทุนในมุมมองของ
ผู้จ่ายเงิน (Payer or Purchaser perspective)
ผู้ให้บริการ (Hospital or provider perspective)
ผู้ป่วย (Patient perspective)
มุมมองทางด้านสังคม (Societal perspective)
ประเภทของต้นทุน
ต้นทุนจับต้องได้(Tangible costs)/ต้นทุนที่จับต้องไม่ได้ (Intangible costs)
ต้นทุนทางการแพทย์(Medical costs)/ต้นทุนส่วนที่ไม่ใช่ทางการแพทย์ (Non-medical costs)
ต้นทุนค่าลงทุน (Capital costs) /ต้นทุนดำเนินการ (Operational [Recurrent] costs
ต้นทุนทางตรง (Direct costs)/ต้นทุนทางอ้อม (Indirect costs)
ต้นทุนแยกตามพฤติกรรมของต้นทุน
ต้นทุนคงที่(Fixed cost: FC)
รายได้กับต้นทุนคงที่ / เงินเดือน
ต้นทุนผันแปร (Variable cost:VC)
ค่ายา/ค่าไฟฟ้า
ต้นทุนรวม (Total cost: TC หรือ Full cost)
ต้นทุนเฉลี่ย (Average cost)
= ต้นทุนต่อหน่วย (Unit cost)
ต้นทุนและการวิเคราะห์ระบบ
ผลผลิต
บริหาร OPD
จำนวนครั้งของบริการ
การบริการIPD
จำนวนวันนอนผู้ป่วยใน
การเรียนการสอน
จำนวนนักศึกษา
งานวิจัย
จำนวนงานวิจัยที่ตีพิมพ์เผยแพร่
ประเภทของการศึกษาต้นทุน
Cost Centre Approach
ใช้ระบบบัญชีแบบดั้งเดิม (Traditional cost accounting method)
ขั้นตอน
1.จัดแบ่งหน่วยงานออกเป็ นหน่วยงานต้นทุน
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
ต้นทุนค่าวัสดุ
วัสดุงานบ้าน
ยา เวชภัณฑ์
ต้นทุนค่าลงทุน
อายุการใช้งาน
เครื่องมือ อุปกรณ์
อาคาร และสิ่งปลุกสร้าง
ยานพาหนะ
ต้นทุนค่าแรง
เงินเดือน
สวัสดิการ
หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
หาต้นทุนรวมทั้งหมด
หาต้นทุนรวมทั้งหมด
Activity Approach (Activity based costing: ABC)
ระบบต้นทุนฐานกิจกรรม
จุดมุ่งหมายให้ผู้บริหารหันมาให้ความสนใจกับการบริหารกิจกรรมและต้นทุนที่เกี่ยวข้อง
มีการบริหารโดยแบ่งออกเป็นกิจกรรมต่างๆ
กิจกรรม คือ การกระทำที่เปลี่ยนทรัพยากรของกิจกรรมออกมาเป็นผลผลิตได้
การค้านวณต้นทุนทางลัด
เก็บรวบรวมข้อมูลรายจ่ายทุกหมวดตลอดปี
ข้อมูลการให้การบริการ
ขั้นตอนการศึกษาต้นทุน
1.วิเคราะห์และระบุหน่วยกิจกรรม
หาต้นทุนรวมโดยตรงของแต่ละหน่วยงาน
3.หาวิธีกระจายต้นทุนที่เหมาะสม
หาต้นทุนรวมทั้งหมดของแต่ละกิจกรรม
หาต้นทุนต่อหน่วยกิจกรรม
ประโยชน์
ทำให้มีข้อมูลและสามารถนำเสนอค่าใช้จ่ายตามหมวด
ใช้ในการประเมินประสิทธิภาพ
ใช้คำนวณอัตตราคืนทุน
ใช้เป็นข้อมูลพื้นฐานสำหรับผู้บริหาร
ปัจจัยที่ส่งผลการวิเเคราะห์ต้นทุนแตกต่างกัน
แหล่งข้อมูลที่ต่างกันส่งผลให้ได้ข้อมูลต้นทุนแตกต่างกัน
วิธีการวิเคราะหืต่างกัน
การวิเคราะห์ต้นทุนมุมมองต่างกัน
การกระจายข้อมูลต้นทุนต่างกัน
การใช้ข้อมูลและเวลาต่างกัน