Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฏหมายและจรรยาบรรณด้านการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ฉุกเฉิน และอุบัติภัย - Coggle…
กฏหมายและจรรยาบรรณด้านการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤต ฉุกเฉิน และอุบัติภัย
กฎหมาย และจริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตและฉุกเฉิน
ประมวลกฎหมายอาญา
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ
การกระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
ไม่มีกฏหมายยกเว้นความผิดหรือยกเว้นโทษ
คดียังไม่ขาดอายุความ
ตัวอย่างความผิดทางอาญา
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ : ให้ยาผิด ไม่ปฎิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ ความบกพร่องในการใช้เครื่องมือหรืออุปกรณ์การแพทย์ การบันทึก การไม่ท่าหน้าที่แทน
การทอดทิ้งหรือละเลย : ไม่ขึ้นเวร หลับเวร ไม่ดูแล ขาดความเอาใจใส
การเปิดเผยความลับ : เปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคล การเจ็บป่วย การรักษา การช่าระค่ารักษา
การปฏิเสธการช่วยเหลือผู้อื่นที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต : เห็นคนก่าลังจมน้่าแต่ไม่ช่วย
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร : การปลอมเอกสาร และการท่าหรือรับรองเอกสารเท็จ
การท่าให้หญิงแท้งลูก : การสิ้นสุดอายุครรภ์น้อยกว่า 20 สัปดาห์
บทลงโทษ
ประหารชีวิต
จำคุก
กักขัง
กรับ
ริบทรัพย์
ประมวลกฎหมายแพ่ง
การชดใช้ค่าสินไหมทดแทนเนื่องจากการละเมิดเนื่องจากการละเมิด เพราะการปฏิบัติการพยาบาลอาจท่าให้เกิดความเสียหายต่อชีวิต ร่างกาย อนามัย ชื่อสียง
ตัวอย่างความผิดทางแพ่ง
การกระทำผิดต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาทเลินเล่อ
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย(ต่อชีวิต ร่างกาย อนามัย เสรีภาพ ทรัพย์สินและสิทธิต่างๆ)
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. 2528 และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2540
มาตรา 4
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล หมายความว่า การปฏิบัติหน้าที่การพยาบาลต่อบุคคล ครอบครัว และชุมชน โดยกระท่า ดังนี้
การสอน การแนะน่า การให้ค่าปรึกษาและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
การกระท่าต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการแก้ปัญหาความเจ็บป่วย การบรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค และการฟื้นฟูสภาพ
การกระท่าตามวิธีที่ก่าหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น และการให้ภูมิคุ้มกันโรค
ช่วยเหลือแพทย์กระท่าการรักษาโรค
ทั้งนี้ โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาลในการประเมินสภาพ การวินิจฉัย ปัญหา การวางแผน การปฏิบัติ และการประเมินผล
ตัวอย่างความรับผิดทางการพยาบาล
การประกอบวิชาชีพพร่องมาตรฐาน
การไม่เคารพกฎหมายบ้านเมือง: ปลอมเอกสาร ฉ้อโกง
การประกอบวิชาชีพไม่ได้มาตรฐานและไม่ค่านึงถึงความปลอดภัยของผู้ป่วย
การประกอบวิชาชีพไม่ได้มาตรฐาน: การท่างานเกินขอบเขตวิชาชีพ
บทลงโทษ
โทษทางวิชาชีพ
ตักเตือน
ภาคฑัณฑ์
พักใช้ใบอนุญาต
การเพิกถอนใบอนุญาต
โทษทางอาญา
บุคคลภายนอก/พว.ที่อยู่ระหว่างถูกพักใบอนุญาต
ผู้ใดไม่มาให้ถ้อยคำ/ไม่ส่งเอกสารตามที่เลือก
ผู้ใดไม่อำนวยความสะดวกแก่พนักงาน
พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551
ปฏิบัติการฉุกเฉิน
: การปฏิบัติการด้านการแพทย์ฉุกเฉินนับตั้งแต่การรับรู้ถึงภาวะการเจ็บป่วยฉุกเฉินจนถึงการด่าเนินการให้ผู้ป่วยฉุกเฉิน ได้รับการบ่าบัดรักษาให้พ้นภาวะฉุกเฉินซึ่งรวมถึงการประเมิน การจัดการ การควบคุม ดูแล การติดต่อสื่อสาร การล่าเลียงหรือขนส่ง การตรวจวินิจฉัยและการบ่าบัดรักษาพยาบาลผู้ป่วยฉุกเฉินทั้งนอกสถานพยาบาลและในสถานพยาบาล
ตรวจคัดแยกระดับความฉุกเฉิน
ผู้ป่วยฉุกเฉินต้องได้รับการปฏิบัติการฉุกเฉินจนเต็มขีดความสามารถของหน่วยปฏิบัติการ หรือสถานพยาบาลนั้นก่อนการส่งต่อ เว้นแต่มีแพทย์ให้การรับรองว่าการส่งต่อ
การปฏิบัติการฉุกเฉินต่อผู้ป่วยฉุกเฉินต้องเป็นไปตามความจ่าเป็น และข้อบ่งชี้ทางการแพทย์ฉุกเฉิน
ผู้ป่วยฉุกเฉิน
หมายความว่า บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นภยันตรายต่อการด่ารงชีวิตหรือการท่างานของอวัยวะส่าคัญ
สิทธิของผู้ป่วยฉุกเฉิน
เป็นผู้ป่วยฉุกเฉินตามความหมายที่พระราชบัญญัติการแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2551 ว่า บุคคลซึ่งได้รับบาดเจ็บหรือมีอาการ
ป่วยกะทันหัน
มีอันตรายต่ออวัยวะสำคัญ
จำเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการ การรักษาาอย่างทันท่วงที่
การขอใช้บริการในระบบบริการการแพทย์ฉุกเฉิน ผู้ป่วยที่มีอาการเจ็บป่วยในความรุนแรงระดับวิกฤตฉุกเฉิน ได้แก่
หัวใจหยุดเต้น ไม่หายใจ ไม่ตอบสนองต่อการเรียกหรือกระตุ้น ไม่มีชีพจร ต้องได้รับการกู้ชีพทันที
การรับรู้สติเปลี่ยนไป บอกเวลา สถานที่ คนที่คุ้นเคยผิดอย่างเฉียบพลัน
ระบบหายใจมีอาการผิดปกติ
ระบบไหลเวียนเลือดวิกฤติอย่างน้อย 2 ข้อร่วมกัน คือ ตัวเย็นและซีด เหงื่อแตกจนท่วมตัว หมดสติชั่ววูบ หรือวูบเมื่อลุกยืนขึ้น หรือมีการเสียเลือดไม่หยุดจ่านวนมากและยังไหลไม่หยุด
ได้รับการคุ้มครองความปลอดภัยโดยให้หน่วยปฏิบัติการ สถานพยาบาล และ ผู้ปฏิบัติการ ด่าเนินการปฏิบัติการฉุกเฉิน
สิทธิผู้ป่วย 10 ประการ
ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับบริการด้านสุขภาพตามที่บัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญ
ผู้ป่วยทุกคนมีสิทธิที่จะได้รับบริการจากผู้ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ
ผู้ป่วยทุกคนที่ขอรับบริการด้านสุขภาพมีสิทธิที่จะได้รับข้อมูลอย่างเพียงพอ
ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะเสี่ยงต่อชีวิตมีสิทธิได้รับบริการด่วนจากผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบชื่อ สกุลและประเภทของผู้ให้บริการแก่ตน
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะขอความเห็นจากผู้ประกอบวิชาชีพด้านสุขภาพที่มิได้ให้บริการแก่ตน
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับการปกปิดข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับข้อมูลอย่างครบถ้วนในการตัดสินใจ
ผู้ป่วยมีสิทธิที่จะได้รับทราบข้อมูลการรักษาพยาบาลเฉพาะของตน
บิดา มารดาหรือผู้มีสิทธิอันชอบธรรมตามกฎหมาย อาจใช้สิทธิผู้ป่วยที่มีอายุต่่ากว่า 18 ปีหรือผู้มีความ
ผู้ป่วยคดี
ผู้ป่วยที่มีสาเหตุการเจ็บป่วยเกี่ยวเนื่องกับกฎหมาย
้ป่วยที่เจ้าพนักงานสอบสวนหรือศาลส่งตัวมาเพื่อตรวจชันสูตร โดยมีหนงัสือส่งตัวเป็นทางการ
ผู้ป่วยที่ได้รับบาดเจ็บจากการกระท่าของผู้อื่น
ผู้ปวยที่ได้รับบาดเจ็บจากอุบัติเหตุหรือมีสาเหตุของการบาดเจ็บที่ผิดธรรมชาติ
อุบัติเหตุการจราจร พลัดตกจากที่สูง จมน้่า ผูกคอหรือแขวนคอ บาดเจ็บจากความร้อน ความเย็น กระแสไฟฟ้า บาดเจ็บจากการปฏิบัติงานใหแ ก่นายจ้า ง หรือเจ็บป่วยจากโรคที่เกิดจากการท่างาน
ผู้ป่วยที่สงสัยว่าอาจจะเป็นคดีขึ้นภายหลัง เช่น ผู้ป่วยไดร้ บสารพิษ ผู้ป่วยจากการถูกสัตว์ท่าร้าย
การดูแล
บันทึกข้อมูล เกี่ยวกับ เพศ อายุ การพูด ๖เสียง ส่าเนียง วิธีพูด ภาษาที่พูด) ลักษณะ ท่าทาง การเดิน สีผิว เชื้อชาติ ศาสนา การศึกษา ต่าหนิ ความพิการของร่างกาย ร่องรอย อาชีพ ความสูง น้่าหนัก ลายพิมพ์นิ้วมือ
บันทึกผลการตรวจร่างกาย ร่องรอยของการบาดเจ็บตามร่างกายเสื้อผ้าที่สวมใส่ สี ลักษณะของเสื้อผ้า
เก็บรักษาพยานหลักฐานต่างๆ อย่างถูกต้อง
ป้องกันการใช้เอกสารปลอม
เฝ้าระวังผู้ป่วยที่มีสัญญาณอันตรายและมีโอกาสที่จะเป็นผู้ป่วยคดี
ศพไม่มีญาติ หรือไม่ทราบว่าผู้ตายเป็นใคร
การเก็บรวบรวมพยานหลักฐาน
การทิ้งร่องรอยหลังสัมผัส ทุกครั้งที่มีการสัมผัสจะทอ้งร่องรอย ต้องระวงการปนเปื้อน โดยการใส่ถุงมือและให้้เกี่ยวข้องเข้าถึงพยานหลักฐานน้อยที่สุด
ห่วงโซ่การครอบครองพยานหลักฐาน กระบวนการเก็บพยานหลักฐาน การเก็บรักษา การส่งต่อ รับมอบ การน่า หลักฐานไปพิสูจน์ การรายงานผลตรวจ การท่าลายพยานหลักฐาน ต้องบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
วิธีการเก็บพยานหลักฐาน
เสื้อผ้าต้องตัดตามตะเข็บ หลีกเลี่ยงต่าแหน่งที่เป็นต่าหนิ เช่น รู รอยแทง รอยขาด หากเปียกชื้นต้องผึ่งให้แห้งห้ามใสถุงพลาสติก
ระวังการท่าลายหลักฐานโดยไม่ตั้งใจ เช่น การท่าความสะอาดบาดแผลก่อนเก็บหลักฐาน การใช้มือเปล่าจับวัตถุพยาน
หากมีพยานหลายชนิด ควรแยกเก็บ ไม่ควรใส่ถุงเดียวกัน
ชุดส่าหรับบรรจุพยานหลักฐาน ขึ้นอยู่กับลักษณะของหลักฐาน
ปิดผนึกให้มิดชิดและด่าเนินการตามหลักห่วงโซ่การคุ้มครองพยานหลักฐาน
การบันทึกบาดแผล
บันทึกทันทีที่ผู้ป่วยเข้ามาในห้องฉุกเฉิน ขออนุญาตถ่ายภาพบาดแผล
ชนิดของบาดแผล เช่น แผลถูกฟัน แผลถูกแทง แผลถูกตัดขาด แผลถูกกระสุน แผลถูกกัด
ต่าแหน่งของบาดแผล
ขนาดและรูปร่างของบาดแผล
ทิศทางของบาดแผล
จ่านวนของบาดแผล
สิ่งแปลกปลอมที่ติดมากับบาดแผล