Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU -…
บทที่ 5
การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี
และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
Mechanical ventilator
VT ปริมาตรอากาศที่หายใจเข้าและออกจากปอดใน 1 ครั้ง หน่วยเป็นมิลลิลิตร ค่าปกติ 6-8 มิลลิลิตร/น้ําหนักตัว 1กิโลกรัม
RR ตั้งอัตราการหายใจ ค่าปกติ 12-20 ครั้ง/นาที
MV ปริมาตรลมหายใจออกทั้งหมดใน 1 นาที
สูตร RR x VT
PF อัตราการไหลของอากาศเข้าสู่ปอดมีหน่วยเป็นลิตร/นาที
I:E เวลาที่ใช้ในการหายใจเข้าต่อเวลาที่ใช้ในการหายใจออก
1 ต่อ 2 เข้าสั้น : ออกยาว
Sensitivity ความไวของเครื่องที่ออกแรงกระตุ้นเครื่อง
Fio2 ความเข้มข้นของออกซิเจนในอากาศที่เครื่องปล่อยเข้าผู้ป่วย ปรับได้
ตั้งแต่ 21-100 เปอร์เซ็นต์
PEEP ความดันในช่วงหายใจออกสุดท้ายมีแรงดันบวกค้างไว้
ในปอดตลอดเวลา
ข้อบ่งชี้การใช้
เครื่องช่วยหายใจ
oxygenation failure
ventilation failure
diaphragm fatigue
ระบบไหลเวียนโลหิต
ในร่างกายผิดปกติ
ชนิดของเครื่อง
ช่วยหายใจ
NPPV ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
ไม่เหมาะสําหรับผู้ป่วยที่มีพยาธิสภาพของปอดที่รุนแรง
การดูแลเกี่ยวกับการขับเสมหะจะ
ลําบากกว่า
เกิดภาวะท้องอืดได้ง่าย
เสี่ยงต่อการสําลักและผู้ป่วยต้องให้ความร่วมมือ
เหมาะสําหรับผู้ป่วยหายใจล้มเหลวแบบเรื้อรัง
ใช้ในเวลากลางคืนและใช้ในรายที่
ถอดท่อช่วยหายใจ
IPPV ใส่ท่อช่วยหายใจ
เป็นการอัดอากาศเข้าไปในปอดผ่านทาง endotracheal tube หรือ tracheostomy tube
ใช้แรงดันบวก
Mode of ventilator
Assist/control (A/C) ventilation
เป็นวิธีช่วยหายใจที่การ
หายใจทุกครั้งถูกกําหนด
ด้วยเครื่องช่วยหายใจทั้งหมด
ผู้ป่วยไม่มีการหายใจเองเลย
Synchronized Intermittent
mandatory ventilation (SIMV)
เป็นวิธีช่วยหายใจที่มีทั้งการ
หายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous ventilation
Continuous positive
airway pressure (CPAP)
เป็นวิธีการหายใจที่ให้แรงดันบวก (PEEP)
ไม่มีการส่งแรงดันช่วยเพิ่มขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้า
obstructive sleep apnea
Pressure support
ventilator (PSV)
เป็นวิธีการหายใจที่เครื่องช่วยผู้ป่วยในขณะที่ผู้ป่วย
สามารถหายใจได้เอง
ใช้ในการหย่าเครื่องช่วยหายใจ
ภาวะแทรกซ้อนจาก
การใช้เครื่องช่วยหายใจ
cardiac output
ลดลง
Pulmonary volutrauma
Pulmonary barotrauma
Artificial airway complication
Atelectasis
Ventilator Associated Pneumonia; VAP
Oxygen toxicity
เกิดแผลหรือภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
ผลต่อภาวะโภชนาการ
การพยาบาลผู้ป่วยที่
ใช้เครื่องช่วยหายใจ
ดูแลด้านจิตใจ
ดูแลด้านร่างกาย
ประเมินภาวะแทรกซ้อน Moniter
V/S O2 sat q 1 hr ABGS
ตําแหน่งของท่อหลอดลมคอควรอยู่
เหนือ Carina ประมาณ 1 นิ้ว
ใส่ลมในกระเปาะ Cuff pressure
20-25 มิลลิเมตร ผูก ET
ป้องกันไม่ให้เกิดการอุดกั้นของทาง
เดินหายใจ โดยการดูดเสมหะ
ดูแลให้เครื่องช่วยหายใจทํางานอย่าง
มีประสิทธิภาพ เป็นระบบปิด
ป้องกันภาวะปอดแฟบ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สําคัญ
เช่น Electrolyte imbalance , ABGs
Weaning
ก่อนหย่า
ค่า PaO2>60 มม.ปรอท FiO2 ไม่เกิน 0.4
PEEP น้อยกว่า
5 เซนติเมตรน้ำ
ค่า Spontaneous tidal volume เมื่อถอดเครื่อง
ช่วยหายใจแล้ว มากกว่า
5 มิลลิลิตรต่อน้ำหนักตัว
1 กิโลกรัม
ความสามารถในการหายใจเองของผู้ป่วย คํานวณได้จากอัตราการหายใจครั้ง/นาที หารด้วยค่า Spontaneous tidal volume หน่วยเป็นลิตร
สามารถไอได้ดี
วิธีการหย่า
ผู้ป่วยหายใจเองทาง T piece หรือหายใจเองสลับกับเครื่องช่วยหายใจเป็นพักๆ โดยเริ่มให้ออกซิเจน 10 ลิตรต่อนาที
(SIMV) ใช้สําหรับผู้ป่วยที่ใส่เครื่องช่วยหายใจมานานและใช้แบบ T piece ไม่ได้ โดยการตั้งค่าการหายใจของเครื่องให้ต่ํากว่าการหายใจของผู้ป่วย
(PSV) โดยเครื่องจะปล่อยแรงดันในช่วงที่ผู้ป่วยหายใจเข้าด้วยตนเอง
จึงทําให้ผู้ป่วยไม่ต้องออกแรงมาก ผู้ป่วยเป็นผู้กําหนดอัตราการหายใจ
(CPAP) โดยเครื่องช่วยหายใจปล่อยแรงดันบวกเข้าปอดตลอดเวลา
เพื่อลดการออกแรงในการหายใจ
ขณะหย่า
การพยาบาลผู้ป่วยที่
หย่าเครื่องช่วยหายใจ
เริ่มหย่าเครื่องช่วยหายใจในตอนเช้า
อธิบายวิธีการหย่าคร่าวๆ
ดูดเสมหะ
จัดท่าศีรษะสูงหรือท่านั่ง
เริ่มโดย โดยวิธี Tpiece
หรือวิธีปรับ mode
Oxygen saturation ทุก 5-10 นาที
เฝ้าระวังอาการเปลี่ยนแปลงทุก
15 นาทีถึง 1 ชั่วโมง
การถอดท่อ
ช่วยหายใจ
แพทย์พิจารณา
ให้ถอดได้
สามารถหายใจผ่าน T piece
10ลิตร/นาที เกิน 2 ชั่วโมง
สามารถไอขับเสมหะ
ออกมาได้
รู้สึกตัวดีหรือ GCS>10 คะแนน
ประเมิน cuff leak test ผ่าน
วิธีในการถอด
ท่อช่วยหายใจ
จัดท่านั่งศีรษะสูง
ดูดเสมหะ
แกะพลาสเตอร์
เอาลมในกระเปาะท่อช่วยหายใจ
ออกให้หมดโดยใช้ syringe
ให้ผู้ป่วยกลั้นหายใจ ค่อยๆดึงออก
และดูดเสมหะอีกครั้ง
ให้ O2 mask 10 ลิตร/นาที
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที ทุก 30 นาที
และทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่
เฝ้าระวังอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
หลังหย่า
จัดท่าศีรษะสูง
ให้ O2 mask
10 ลิตร/นาที 2 ชั่วโมง หลังจากนั้นเป็น
O2 cannula
3-6 ลิตร/นาที
วัดสัญญาณชีพทุก 15-30 นาที
และทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่
การพยาบาลผู้ป่วยใส่
สายสวนหลอดเลือด
การวัดการไหลเวียน
เลือดและความดันโลหิต
ในผู้ป่วยวิกฤต
intra-arterial monitoring
ข้อบ่งชี้
การไหลเวียนลดลง
หรือความดันโลหิตต่ำ
ผ่าตัด เสียเลือดมาก
ตรวจ arterial blood gas
ผู้ป่วยที่ใช้ inotropic drugs
และ vasoactive drug
ผู้ป่วยที่วัดความดัน
โลหิตยาก
ตำแหน่ง Redial artery
การพยาบาล
ตรวจสอบความแม่นยํา
ของการปรับเทียบค่า
กับความดันบรรยากาศ
เทียบกับเครื่อง monitor
ดูแลระบบของ
arterial line
ให้มีประสิทธิภาพ
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
Infection
Skin necrosis
Hematoma
Limb ischemia
Central venous
pressures; CVP
ข้อบ่งชี้
เสียเลือดจากอุบัติเหตุ
หรือจากการผ่าตัด
ภาวะน้ำเกิน
ประเมินการทํางานของหัวใจ
และหลอดเลือด
ตําแหน่ง ได้แก่ subclavian vein
และ internal jugular vein
ค่า CVP ปกติอาจอยู่ในช่วง
6-12 cmH2O (2-12 mmHg)
การพยาบาล
ความแม่นยําของการเปรียบเทียบค่า
ตําแหน่ง 4th intercostal space
ตัดกับ mid anterior-posterior line
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน
ป้องกันการติดเชื้อ
พิจารณาถอดออก
ให้เร็วที่สุด
ประเมินแผล
2% Chlorhexidine in 70% Alcohol
เปลี่ยน sterile transparent
dressing ทุก 7 วัน
gauze dressing เปลี่ยนทุก 2 วัน
ป้องกันการอุดตัน
ของสายสวน
การป้องกันฟองอากาศเข้า
หลอดเลือดโดยดูแลให้เป็นระบบปิด
ยาที่ใช้บ่อย
ในผู้ป่วยวิกฤต
ใช้ในภาวะ
Pulseless Arrest
Epinephrine หรือ Adrenaline
1 mg/ml/ampule (1: 1,000)
ใช้เป็นยาตัวแรกในการทํา CPR
Amiodarone (Cordarone®)
ยารักษาหัวใจห้องบนเต้นผิดจังหวะ
ใช้ในภาวะ Bradyarrhythmia
Atropine แก้ไขภาวะหัวใจ
เต้นช้าผิดปกติและฉีดช้าๆ
ใช้ในภาวะ Tachyarrhythmia
Adenosine ใช้ภาวะ SVT เป็นยา
ที่ออกฤทธิ์ได้เร็ว (10 วินาที) และ
หมดฤทธิ์เร็ว จึงต้องฉีดเร็วๆ
Digoxin (Lanoxin ®) ใช้ในภาวะ
Heart failure, AF, SVT ให้ช้าๆ
ยากระตุ้นความดันโลหิต (Vasopressor)
Dopamine (Inopin®) ขนาดต่ำ = หลอดเลือด
ขนาดปานกลาง = Beta 1 ขนาดสูง = Alpha 1
แก้ไข Shock
Dobutamine แก้ไข Shock ที่เป็นโรคหัวใจร่วมด้วย
Norepinephrine (Levophed®) ใช้ใน
septic shock และ cardiogenic shock
ระวังยารั่ว ทำให้เนื้อตายได้
ยาขยายหลอดเลือด (Vasodilators)
Nicardipine ใช้ใน Hypertensive crisis
Sodium Nitroprusside ใช้ใน
hypertensive emergency
ระวังพิษจาก Cyanide
Nitroglycerin (NTG) ลดอาการ
Chest pain (angina pectoris)