Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 การบาดเจ็บของกระดูก (Bone injuries), นางสาวชื่นนภา มูลนิคม รหัส…
บทที่ 9 การบาดเจ็บของกระดูก (Bone injuries)
กระดูกต้นแขนหัก(Fracture humurus)
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น ผู้ทาคลอดดึงทารกออกมาแขนเหยียด
การคลอดท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
การตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์ moro reflex) พบว่าทารกจะไม่งอแขน
เมื่อจับแขนขยับทารกจะร้องไห้เนื่องจากรู้สึกเจ็บ
อาการและอาการแสดง
ในรายที่มีกระดูกหักสมบูรณ์ (complete) อาจได้ยินเสียงกระดูกหักขณะคลอด
แขนข้างที่หักจะมีอาการบวมและทารกไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่หักเนื่องจากรู้สึกเจ็บ
แนวทางการรักษา
ถ้าเป็นเพียงกระดูกแขนเดาะ จะรักษาโดยการตรึงแขนให้แนบกับลาตัวเพื่อไม่ให้แขนเคลื่อนไหว 1 2 สัปดาห์
แต่ถ้ากระดูกแขนหักสมบูรณ์ จะรักษาโดยการจับแขนตรึงกับผนังทรวงอก ศอกงอ 90 องศา แขนส่วนล่างและมือทาบขวางลาตัวใช้ผ้าพันรอบแขนและลาตัว หรือใส่เฝือกอ่อนจากหัวไหล่ถึงสันหมัด
กระดูกต้นขาหัก Fracture femur
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น
ผู้ทาคลอดดึงขาทารกขณะที่ติดอยู่ที่ทางเข้าเชิงกราน (pelvic inlet)
การตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์ทารกไม่ยกขาข้างที่กระดูกหัก
สังเกตว่าทารกจะไม่เคลื่อนไหวขาข้างที่หัก
อาการและอาการแสดง
อาจได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทารกคลอด
อาจไม่ทราบว่ากระดูกหักจนเวลาผ่านไปหลายวันจะพบว่าขาทารกมีอาการบวมเนื่องจากเลือดเข้าไปในกล้ามเนื้อใกล้เคียงบริเวณที่หัก
เมื่อจับทารกเคลื่อนไหวหรือถูกบริเวณที่กระดูกต้นขาหักทารกจะร้องไห้
แนวทางการรักษา
ถ้ากระดูกไม่หักแยกจากกัน ( รักษาโดยการใส่เฝือกขายาว ประมาณ 3 4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกหักแยกจากกัน ( รักษาโดยการห้อยขาทั้งสองข้างไว้กับราวที่ขวางปลายเตียง ขาเหยียดตรงให้ก้นและสะโพกลอยจากพื้นเตียง ดึงขาไว้นาน 2 3 สัปดาห์
กระดูกไหปลาร้าหัก Fracture clavicle
สาเหตุ
การคลอดทารกท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
ทารกตัวโตหรือคลอดท่าก้นที่แขนเหยียดซึ่งผู้ทาคลอดดึงแขนออกมา
การตรวจร่างกาย
ทดสอบmoro reflexreflexแขนทั้งสองข้างของทารกเคลื่อนไหวไม่เท่ากัน
กรณีที่กระดูกเดาะอาจยกแขนได้คลาบริเวณที่หักอาจได้ยินเสียงกรอบแกรบ
อาการและอาการแสดง
ทารกเคลื่อนไหวแขนข้างที่กระดูกไหปลาร้าหักน้อยหรือไม่เคลื่อนไหวเลย
ทารกจะมีอาการหงุดหงิดหรือร้องไห้เมื่อสัมผัสบริเวณที่กระดูกหัก โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อจับใต้แขนยกตัวทารกขึ้น
อาจพบว่ามีอาการบวมห้อเลือด (ecchymosis) ตรงบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
อาจพบปมประสาทใต้ไหปลาร้า (brachial plexus) ของทารกอาจได้รับอันตรายร่วมด้วย
แนวทางการรักษา
ส่วนใหญ่หายได้เองค่อนข้างเร็ว มักเกิดกระดูกงอกใหม่ภายใน 11สัปดาห์
รักษาโดยให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไหลปลาร้าหักอยู่นิ่งๆ โดยการกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อประมาณ 10 14 วัน
บทบาทการพยาบาลทารกที่มีอาการบาดเจ็บของกระดูก
ดูแลไม่ให้กระดูกส่วนที่หักเคลื่อนไหว และจัดให้บริเวณที่หักอยู่ในท่าที่ถูกต้องตามแผนการรักษา
จัดกิจกรรมการพยาบาลไม่ให้เคลื่อนไหวร่างกายทารกบ่อย ๆ
ดูแลให้ได้รับความสุขสบายและป้องกันอันตรายที่อาจเกิดขึ้นเพิ่ม
ดูแลให้ทารกได้รับอาหารและน้าอย่างเพียงพอ
ดูแลการขับถ่าย ป้องกันการระคายเคืองจากอุจจาระและปัสสาวะ
ดูแลให้ความอบอุ่นทางด้านจิตใจแก่ทารก
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา
นางสาวชื่นนภา มูลนิคม รหัส 602701020