Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคอุจจาระร่วงในเด็ก :!?: DIRRHEA, image, 130916_111309, รูปภาพ4 - Coggle…
โรคอุจจาระร่วงในเด็ก
:!?:
DIRRHEA
โรคอุจจาระร่วง คือ อะไร :question:
ถ่ายอุจจาระเหลว 3 ครั้ง หรือมากกว่า ถ่ายเป็นน้้า เป็นมูกเลือด 1 ครั้ง หรือมากกว่า/ วัน ถือว่าเป็นอุจจาระร่วง
แต่เด็กที่เลี้ยงด้วยนมแม่ ถ่ายสีเหลืองทอง เหลวนิ่มวันละ 4-5 ครั้ง บางครั้งมีกลิ่นเปรี้ยว น้้าหนักของเด็กเพิ่มขึ้นดีไม่ใช่อุจจาระร่วง :red_cross:
ชนิดของอุจจาระร่วง
อุจจาระร่วงเฉียบพลัน
(Acute Diarrhea)
คือ ภาวะที่มีการถ่ายอุจจาระร่วงเฉียบพลันใน 24 ชั่วโมง และเป็นไม่นานเกิน 2 สัปดาห์
อุจจาระร่วงยืดเยื้อ
(Persistent Diarrhea)
คือ ภาวะที่มีการถ่ายอุจจาระร่วงเฉียบพลันที่เกิดการติดเชื้อต่อเนื่องกันนานอย่างน้อย 2 สัปดาห์
อุจจาระร่วงเรื้อรัง
(Chronic Diarrhea)
คือ ภาวะที่มีการถ่ายอุจจาระร่วงติดต่อกันทุกวัน นานมากกว่า 3 สัปดาห์ขึ้นไป
สาเหตุ
1.การติดเชื้อ
เชื้อไวรัส Rotavirus ระบาดในฤดูหนาว
เชื้อเเบคทีเรีย E.coli,Shigella,Vibrio cholera
2.ขาดเอมไซม์และ
น้ำย่อยที่สำคัญ = Lactase
3.การดูดซึมบกพร่อง
อาการและอาการแสดง
โรคอุจจาระร่วงรุนแรงจากเชื้อ Vibrio cholera
อาการถ่ายเป็นน้ำทันที
ไม่ปวดท้อง
ท้อง กล้ามเนื้ออาจเป็นตะคริวเนื่องจากมีการสูญเสียเกลือแร่
อาเจียนร่วมด้วย
ของอุจจาระที่มีสีขาวขุ่นเหมือนน้ำซาวข้าว เพราะมีเมือกและเซลล์เยื่อบุผิวลำไส้ปนออกมาและมักมีกลิ่นเหม็นคาว
2.โรคอุจจาระร่วงจากการรับประทานอาหารที่ปนเปื้อนสารพิษจากเชื้อแบคทีเรีย
อาการอาเจียนรุนแรง
มีอาการปวดท้องแบบตะคริว (cramping)
โรคอุจจาระร่วงจากเชื้อไวรัส ในเด็กจะเกิดจากเชื้อ Rotavirus
ไข้ ไอ หวัด เล็กน้อย เป็นอยู่ 1-2 วัน
มีอาเจียน ปวดท้อง ถ่ายอุจจาระเป็นน้ำปนกากอาหารที่ไม่ค่อยย่อย
อุจจาระเป็นน้ำสีเหลืองเขียว มีฟอง กลิ่นเหม็นเปรี้ยว
โรคบิด หรือ dyscenteric diarrhea
จะมีไข้ > 38.5 °C ประมาณ 1-2 วัน อุจจาระในวันแรกๆ
อุจจาระมีลักษณะเหลวหรือเป็นน้ำสีเขียว ต่อมาจึงมีลักษณะเป็นมูกเลือด
กลิ่นเหม็นเหมือนไข่เน่า
อาการของโรคบิด คือ ปวดท้อง ปวดเบ่ง อุจจาระถูกเบ่งออกมาครั้งละน้อยๆ และบ่อย ตั้งแต่ 10-15 ครั้งขึ้นไป
การขาดน้ำย่อยแล็กเทส
มีอาการอุจจาระร่วง ปวดท้อง มีลมมาก แน่นท้อง
บางรายมีเฉพาะปวดท้อง แน่นท้อง ภายหลังดื่มนมหรือผลิตภัณฑ์จากนม 30 นาที ถึง 2 ชั่วโมง
การแพ้โปรตีนนมวัว
(cow’s milk protein allergy, CMPA)
มีอาการอุจจาระร่วงสัมพันธ์กับการเปลี่ยนนม เช่น จากนมแม่เป็นนมผสม หรือภายหลังการติดเชื้อในลำไส้
มีอาการอุจจาระร่วงเรื้อรัง อุจจาระเหลวเป็นน้ำมีมูกหรือมูกเลือด อาเจียน ปวดท้อง
Dehydration อาการขาดน้ำ แบ่งเป็น 3 ระดับ
1.Mild dehydration มีการขาดน้ำ < 3-5% ของน้ำหนักตัว
2.Moderate dehydration มีการขาดน้ำ 6-9% ของน้ำหนักตัว
3.Severe dehydration มีการขาดน้ำ > 10% ของน้ำหนักตัว
การรักษา
การป้องกันและรักษาภาวะขาดน้ำ
ป้องกันภาวะทุพโภชนาการ โดยการให้อาหารระหว่างมีอาการอุจจาระร่วง และหลังจากหายแล้ว
การให้ยาปฏิชีวนะและยาต้านอุจจาระร่วง