Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 3 กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์,…
บทที่ 3
กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
วิวัฒนาการของกฎหมายวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ใน
ประเทศไทยได้มีพัฒนาการมากกว่า100 ปี
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พศ 2528
และที่แก้ไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์ (ฉบับที่ 2) พศ 2540
ได้ประกาศในพระราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่ม 114
ตอนที่ 75ก วันที่ 23 ธันวาคม พศ 2540 และมีผลบังคับ
ใช้ตั้งแต่วันที่ 24 ธันวาคม พศ 2540 จวบจนถึงปัจจุบัน
กฎหมายแพ่งและพาณิชย์สำหรับพยาบาล
และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมาย
กฎหมายแพ่ง
เป็นส่วนหนึ่งในประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ (ปพพ.) ที่กำหนดสิทธิ หน้าที่ และความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล ซึ่งเป็นความสัมพันธ์ระหว่างเอกชนกับเอกชนทุกฝ่ายเท่าเทียมกัน
กฎหมายพาณิชย์
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการค้าขายหรือกิจการใดๆ
กฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
เป็นกฎหมายที่เกี่ยวกับวิธีการดำเนินพิจารณาพิพากษาคดีในกรณีที่เกิดข้อพิพาทในทางแพ่งขึ้น
นิติกรรม
หมายถึง การกระทำของบุคคลด้วยใจสมัครและถูกต้องตามกฎหมาย มุ่งให้เกิดการเปลี่ยนแปลง โอน สงวนหรือระงับสิทธิระหว่างบุคคล
องค์ประกอบของนิติกรรม
ผู้กระทำต้องแสดงออกในฐานะที่เป็นเอกชน
การกระทำโดยเจตนา
การแสดงเจตนาโดยชัดแจ้ง
การแสดงเจตนาโดยปริยาย
การกระทำที่ชอบด้วยกฎหมาย
ทาให้เกิดการเคลื่อนไหวสิทธิ
ประเภทของนิติกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามจำนวนคู่กรณี
นิติกรรมฝ่ายเดียว
นิติกรรมหลายฝ่าย
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามการมีผลของนิติกรรม
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนายังมีชีวิต
การให้โดยเสน่หา
สัญญาการซื้อขาย
นิติกรรมที่มีผลขณะผู้แสดงเจตนาไม่มีชีวิต
พินัยกรรม
นิติกรรมที่พิจารณาแบ่งตามค่าตอบแทน
นิติกรรมที่มีค่าตอบแทน
สัญญาจ้างงาน
นิติกรรมที่ไม่มีค่าตอบแทน
การให้โดยเสน่หา
ความสามารถของบุคคลในการให้การยินยอมรักษาพยาบาล
หมายถึง สภาพที่กฎหมายกาหนดขอบเขตให้บุคคลมีสิทธิหรือใช้สิทธิ
บุคคล
หมายถึง สิ่งซึ่งสามารถมีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
บุคคลธรรมดา
ตายโดยธรรมชาติ
สาบสูญ
นิติบุคคล
หมายถึง สิ่งซึ่งกฎหมายสมมติให้เป็นบุคคล
เพื่อให้มีสิทธิและหน้าที่ตามกฎหมาย
ผู้เยาว์ (Minor)
หมายถึง บุคคลที่ยังไม่บรรลุนิติภาวะในทางกฎหมาย
คนไร้ความสามารถ (Incompetence)
หมายถึง คนวิกลจริต (Unsound mind)
หรือ อยู่ในภาวะผัก (Vegetative state)
คนเสมือนไร้ความสามารถ (Quasi – incompetence)
หมายถึง บุคคลที่ไม่สามารถจัดทาการงานโดยตนเอง หรือ
จัดกิจการไปในทางเสื่อมเสียแก่ทรัพย์สินของตนเองหรือครอบครัว
ลูกหนี้ที่ถูกศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
สามีภริยา เป็นผู้จัดการสินสมรสร่วมกัน
สภาพบังคับทางแพ่ง
หมายถึง โทษตามกฎหมายแพ่ง
โมฆะกรรม
หมายถึง ความเสียเปล่าของนิติกรรม
การแสดงเจตนาโดยสำคัญผิดในสาระสำคัญแห่งนิติกรรม
นิติกรรมที่ไม่ได้ทำให้ถูกต้องตามแบบที่กฎหมายกำหนด
นิติกรรมที่มีวัตถุประสงค์ต้องห้ามชัดแจ้งโดยกฎหมาย
โมฆียกรรม
หมายถึง การทำนิติกรรมที่มีผลสมบูรณ์ในขณะกระทำ
แต่สามารถบอกล้างหรือปฏิเสธนิติกรรมโดยผู้เสียหายในระยะเวลาที่กฎหมายกำหนด
ความสามารถของบุคคล
การแสดงเจตนาโดยวิปริต
การบังคับชำระหนี้
การชดใช้ค่าเสียหายหรือค่าสินไหมทดแทน
ความรับผิดทางแพ่งที่เกี่ยวกับการประกอบวิชาชีพ
การพยาบาลและการผดุงครรภ์
ความรับผิดตามสัญญา
สัญญา
หมายถึง การกระทำของบุคคลตั้งแต่สองฝ่ายขึ้นไป ที่แสดง
เจตนาด้วยใจสมัครถูกต้องตรงกันที่จะกระทำหรืองดเว้นการกระทำ
และตกลงกันทุกข้อโดยไม่มีข้อสงสัย
ความรับผิดจากการละเมิด
หมายถึง การกระทำหรืองดเว้นการกระทำ โดยจงใจหรือประมาท
ต่อผู้อื่นโดยผิดกฎหมาย จนเป็นเหตุให้ผู้อื่นเสียหายแก่ชีวิต
การกระทำต่อบุคคลอื่นโดยผิดกฎหมาย
การกระทำโดยจงใจหรือประมาท
ทำให้บุคคลอื่นเสียหาย
บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
บางกรณีแม้บุคคลไม่ได้ร่วมทำละเมิด ไม่ได้ยุยงส่งเสริมหรือไม่ได้ช่วยเหลือในการ
กระทำผิด แต่กฎหมายแพ่งบัญญัติให้บุคคลต้องร่วมรับผิดกับผู้กระทำ
อายุความ
คือ ระยะเวลาที่กฎหมายกาหนดให้บุคคลมีสิทธิเรียกร้อง
ค่าเสียหายภายในระยะเวลาที่กฎหมายกาหนด
กฎหมายอาญาสำหรับพยาบาล
และการกระทำความผิดที่พบบ่อย
ความหมาย
กฎหมายอาญาเป็นกฎหมายมหาชน ซึ่งบัญญัติว่าการ
กระทำใดเป็นความผิด และกำหนดโทษอาญาแก่ผู้ฝ่าฝืน
วัตถุประสงค์
เพื่อควบคุมความประพฤติของบุคคล
ให้อยู่ในสังคมด้วยความสงบเรียบร้อย
รักษาโครงสร้างของสังคมให้มั่นคง
คุ้มครองความปลอดภัย
รักษาความสงบสุขให้แก่สมาชิกในชุมชน
ป้องกันความเสียหายต่อสังคม
ประเภทของความรับผิดทางอาญา
ความผิดต่อแผ่นดิน
(ร้ายแรง)
ความผิดต่อส่วนตัว
(ไม่ร้ายแรง)
ลักษณะสำคัญของความรับผิดทางอาญา
ต้องมีบทบัญญัติความผิด และกำหนดโทษไว้โดยชัดแจ้ง
ต้องตีความเคร่งครัดตามตัวอักษร
ไม่มีผลย้อนหลังที่เป็นโทษ
หลักเกณฑ์ความรับผิดทางอาญา
การกระทำ
กฎหมายบัญญัติว่าการกระทำนั้นเป็นความผิดและกำหนดโทษ
กระทำโดยเจตนา ประมาท หรือไม่เจตนา
เหตุยกเว้นความรับผิดทางอาญา
เหตุยกเว้นความรับผิด
การป้องกันโดยชอบด้วยกฎหมาย
ผู้เสียหายยินยอมให้กระทำ
เหตุยกเว้นโทษ
กระทำด้วยความจำเป็น
การกระทำผิดเพราะความบกพร่องทางจิต
การกระทำตามคำสั่งของเจ้าพนักงาน
การกระทำของเด็กอายุไม่เกิน 10 ปี
การกระทำความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
เหตุลดหย่อนโทษ
การกระทำความผิดโดยไม่รู้ว่ากฎหมายบัญญัติว่าเป็นความผิด
การกระทำโดยบันดาลโทสะ
ฯลฯ
อายุความ
อายุความฟ้องคดีทั่วไป
อายุความฟ้องคดีความผิดอันยอมความได้
โทษทางอาญา
โทษประหารชีวิต
โทษจำคุก
โทษกักขัง
โทษปรับ
โทษริบทรัพย์สิน
ความรับผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับการปฏิบัติการพยาบาล
ความประมาทในการประกอบวิชาชีพ
ไม่ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
ใช้เครื่องมือ/อุปกรณ์การแพทย์ไม่ถูกต้อง
ความบกพร่องด้านการสื่อสาร
ความบกพร่องด้านการบันทึก
ความบกพร่องด้านการประเมินและเฝ้าระวังอาการ
ความบกพร่องด้านการไม่พิทักษ์สิทธิของผู้ป่วย
บทลงโทษ
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายเล็กน้อยแก่ร่างกายหรือจิตใจ
ลหุโทษ
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายสาหัส
ระวางโทษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 60,000 บาท
หรือทั้งจำทั้งปรับ
ประมาททำให้ผู้อื่นได้รับอันตรายถึงแก่ความตาย
จำคุกไม่เกิน 10 ปี และปรับไม่เกิน 200,000 บาท
การทอดทิ้งหรือละเลยผู้ป่วย
การเปิดเผยความลับของผู้ป่วย
การปฏิเสธความช่วยเหลือผู้ที่ตกอยู่ในอันตรายต่อชีวิต
ความผิดเกี่ยวกับเอกสาร
การปลอมเอกสารและการทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
ความผิดฐานปลอมเอกสาร
ความผิดฐานทำหรือรับรองเอกสารเท็จ
การทำให้หญิงแท้งลูก
การทำให้ตนเองแท้งลูก
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายยินยอม
การทำให้หญิงแท้งลูกโดยผู้เสียหายไม่ยินยอม
การพยายามทำให้หญิงแท้งลูก
การทำให้หญิงแท้งที่ถูกกฎหมาย
ลหุโทษ
ความผิดที่ต้องระวางโทษจาคุกไม่เกิน 1 เดือน
หรือปรับไม่เกิน 10,000 บาท หรือทั้งจาทั้งปรับ
นางสาวเณสรา คามจังหาร 6001211078 เลขที่ 50 Sec.A