Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.1 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พ.ศ. ๒๕๒๘ * - Coggle…
4.1 พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์พ.ศ. ๒๕๒๘ *
ตราพระราชบญัติขึ้นไว้โดยคำ แนะนํา และยินยอมของรัฐสภาดังต่อไปนี้
มาตรา ๑ พระราชบัญญัติน้้น เรียกว่า “พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ. ๒๕๒๘ ”
มาตรา ๒ พระราชบัญญัตินี้ให้ใช้บ้งคับ ตั้งแต่วันถัดจากวัน ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเป็นต้นไป
มาตรา ๓ บรรดาบทกฎหมาย กฎ และข้อ บังคับอื่นในส่วนที่มีบัญ ญัติไว้แล้วในพระราชบัญญัตินี้หรือซึ่งขัด หรือแย้งกับ บทแห่งพระราชบัญญัตินี้ให้ใช้พระราชบัญ ญัตินี้แทน
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี้ “ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์” หมายความว่า วิชาชีพเกี่ยวกับการพยาบาลและ
การผดุงครรภ์
“ การพยาบาล ”
การกระทํา ต่อมนุษยเ์กี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือ
เมื่อเจ็บป่วย การฟ้ืนฟูสภาพ การป้องกัน โรค และการส่งเสริมสุขภาพรวมทั้งการช่วยเหลือแพทย์กระทําการรักษาโรค ทั้งนี้โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล
“ การผดุงครรภ์”
หมายความว่า การกระทํา เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือ หญิงมีครรภ์หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด
“ การประกอบวิชาชีพการพยาบาล ”
หมายความว่า การปฏิบัติหน้าที่การพยาบาลต่อบุคคล
ครอบครัว และชุมชน โดยการกระทา ต่อไปนี้
(๑) การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
(๒) การกระทํา ต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดสภาพแวดล้อม เพื่อการแก้ปัญหาความเจ็บป่วย การบรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค และการฟืื้นฟูสภาพ
(๔) ช่วยเหลือแพทย์กระทํา การรักษาโรค
(๓) การกระทํา ตามวิธีที่กําหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น และการให้ภูมิคุ้มกันโรค
“ การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์”
การปฏิบัติหน้าที่การผดุงครรภ์ต่อหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด ทารกแรกเกิดและครอบครัว โดยการกระทํา ต่อไปนี้
(๒) การกระทํา ต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิด เพื่อป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
(๓) การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
(๑) การสอน การแนะนํา การให้คํา ปรึกษาและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับ สุขภาพอนามัย
(๔) ช่วยเหลือแพทยก์ระทํา การรักษาโรค
“ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ”
บุคคลซึ่งได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลจากสภาการพยาบาล
“ ผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์”
หมายความว่า บุคคลซึ่งได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์จากสภาการพยาบาล
“ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์”
หมายความว่า บุคคลซึ่งได้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์จากสภาการพยาบาล
“ ใบอนุญาต ”
หมายความว่า ใบอนุญาตซึ่งสภาการพยาบาลออกให้ แก่ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
“ สมาชิก ” หมายความว่า สมาชิกสภาการพยาบาล
“ กรรมการ ” หมายความวา่ กรรมการสภาการพยาบาล
“ คณะกรรมการ ” หมายความว่า คณะกรรมการสภาการพยาบาล
“ เลขาธิการ ” หมายความวา่ เลขาธิการสภาการพยาบาล
“ พนักงานเจ้าหน้าที่”หมายความว่า ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
“ รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
หมวด ๑
สภาการพยาบาล
มาตรา ๖ ให้มีสภาการพยาบาล มีวัตถุประสงค์และอํานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัตินี้ให้สภาการพยาบาลเป็นนิติบุคคล
มาตรา ๗ สภาการพยาบาลมีวตัถุประสงค์ดังต่อไปนี้
(๑) ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ให้ถูกต้องตามจริยธรรมแห่งวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๒) ส่งเสริมการศึกษา การบริการการวิจัย และความกา้วหน้าในวิชาชีพการพยาบาลการผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๓) ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
๔) ช่วยเหลือ แนะนา เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชนและองค์กรอื่นในเรื่องที่เกี่ยวกับการพยาบาล การผดุงครรภ์ และการสาธารณสุข
(๕) ให้คําปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาการพยาบาล การผดุงครรภ์และการสาธารณสุข
(๖) เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในประเทศไทย
(๗)ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก
มาตรา ๘ สภาการพยาบาลมีอำนาจหน้าที่ดังต่อไปนี้
(๓) ให้ความเห็นชอบหลักสูตรการศึกษาวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ในระดับอุดมศึกษาของสถาบนั การศึกษาที่จะทํา การสอนวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภเพื่อเสนอต่อทบวงมหาวิทยาลัย
๔) รับรองหลักสูตรต่างๆ สําหรับการศึกษาในระดับ ประกาศนียบตัรของสถาบันที่จะทํา การสอนวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๒) สั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
๕) รับรองหลักสูตรต่างๆ สํารับการฝึกอบรมในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ของสถาบันการศึกษาที่จะทําการฝึกอบรมในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๑) รับขั้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แก่ผูข้อเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๖) รับรองวิทยฐานะของสถาบันที่ทำการสอนและฝึกอบรมตาม ( ๔ ) และ ( ๕ )
(๗) รับรองปริญญา ประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญา ประกาศนียบัตร หรือวุฒิบัตรในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ของสถาบันต่าง ๆ
(๘) ออกหนังสืออนุมัติ หรือวุฒิบัตรเกี่ยวกับความรู้หรือความชํานาญเฉพาะทาง และหนังสือแสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ให้แก่ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
(๙) ดําเนินการให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
มาตรา ๙ สภาการพยาบาลอาจมีรายไดด้งัต่อไปนี้
(๑) เงินอุดหนุนจากงบประมาณแผ่นดิน
(๒) ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบํารุง และค่าธรรมเนียมต่าง ๆ
(๓) ผลประโยชน์จากกิจกรรมอื่นของสภาการพยาบาลตามวัตถุประสงค์กํา หนดในมาตรา ๗
(๔) เงินและทรัพย์สินซึ่งมีผูใ้ห้แก่สภาการพยาบาล
(๕) ดอกผลของเงินและทรัพย์สินอื่นตาม (๑) (๒) (๓) และ (๔)
มาตรา ๑๐ ให้รัฐมนตรีดํารงตําแหน่งสภานายกพิเศษแห่งสภาการพยาบาลและมีอํานาจหน้าที่ตามพระราชบัญญัติ
หมวด ๒
สมาชิก
มาตรา ๑๑ สภาการพยาบาลประกอบด้วยสมาชิกสองประเภท
(๑) สมาชิกสามัญ ได้แก่ผู้ที่มีคุณสมบัติดังต่อไปนี้
(ก) มีอายุไม่ต่า กว่าสิบแปดปีบริบูรณ์
(ข)มีความรู้ในวิชาชีพการพยาบาลหรือการผดุงครรภ์โดยได้รับปริญญา ประกาศนียบัตรเทียบเท่าปริญญาหรือประกาศนียบัตรในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ที่สภาการพยาบาลรับรอง
(ค) ไม่เป็นผู้ประพฤติเสียหาย ซึ่งคณะกรรมการเห็นว่าจะนํามาซึ่งความเสื่อมเสียเกียรติศักด์ิแห่งวิชาชีพ
(ง) ไม่เคยต้องโทษจํา คุกโดยคํา พิพากษาถึงที่สุด หรือคํา สั่งที่ชอบด้วยกฎหมายให้จําคุกในคดีที่คณะกรรมการเห็นว่าจะนํา มาซ่ึงความเสื่อมเสียเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพ
(จ) ไม่เป็นผู้มีจิตฟั่นเฟือนไม่สมประกอบ หรือไม่เป็นโรคที่กํา หนดไว้ในข้อบังคับสภาการพยาบาล
(๒) สมาชิกกิตติมาศักดิ์ได้ แก่ผู้ทรงคุณวุฒิซ่ึงสภาการพยาบาลเชิญให้เป็นสมาชิกกิตติมศักดิ์
มาตรา ๑๒ สิทธิและหน้าที่ของสมาชิกสามัญ มีดังต่อไปนี้
(๑) ขอขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ และขอหนังสืออนุมัตหรือวุฒิบัตรเกี่ยวกับความรู้หรือความชำนาญเฉพาะทางหรือหนังสือแสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์โดยปฏิบัติตามข้อบังคับ
สภาการพยาบาลว่าด้วยการน้ัน
(๒) แสดงความเห็นเป็นหนังสือเกี่ยวกับกิจการของสภาการพยาบาลส่งไปยังคณะกรรมการเพื่อพิจารณาและในกรณีที่สมาชิกสามัญ ร่วมกัน ตั้งแต่ห้าสิบคนข้ึนไปเสนอให้คณะกรรมการพิจารณาเรื่องใดที่เกี่ยวกับกิจการของสภาการพยาบาล คณะกรรมการต้องพิจารณาและแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้เสนอทราบโดยมิชักช้า
(๓) เลือกตั้ง รับเลือกตั้ง หรือรับเลือกเป็นกรรมการ
(๔) ผดุงไว้ซึ่งเกียรติศักดิ์แห่งวิชาชีพและปฎิบัติตนตามพระราชบัญญัติ้นี้
มาตรา ๑๓ สมาชิกภาพของสมาชิกสามัญ สิ้นสุดลงเมื่อ
(๑) ตาย
(๒) ลาออก
(๓) ขาดคุณสมบัติตามมาตรา ๑๑ (๑)
หมวด ๓
คณะกรรมการ
มาตรา ๑๔
ให้มีคณะกรรมการสภาการพยาบาล ประกอบด้วยผู้แทนกระทรวงสาธารณสุขห้าคน ผู้แทนกระทรวงกลาโหมสามคนผู้แทนกระทรวงมหาดไทยหนึ่งคน ผู้แทนทบวงมหาวิทยาลัยสี่คนผู้แทนกรุงเทพมหานครหนึ่งคนผู้แทนสภากาชาดไทยหนึ่งคน นายกสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ของสมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนีและสมาชิกสามัญสภาการพยาบาลอีกสิบหกคนซึ่งได้รับเลือกตั้งโดยสมาชิกสามัญ ของสภาการพยาบาลเป็นกรรมการ และให้เลขาธิการเป็น
กรรมการและเลขานุการ
มาตรา ๑๕
คณะกรรมการอาจแต่งตั้งสมาชิกกิตติมศักดิ์หรือสมาชิกสามัญเป็นกรรมการที่ปรึกษาได้
มาตรา ๑๖
ให้คณะกรรมการเลือกกรรมการเพื่อดำรงตำแหน่งนายกสภาการพยาบาล อุปนายกสภาการพยาบาลคนที่หนึ่ง และอุปนายกสภาการพยาบาลคนที่สอง ตำแหน่งละหนึ่งคน
มาตรา ๑๗
การเลือกตั้งกรรมการตามมาตรา ๑๔ การแต่งตั้งกรรมการที่ปรึกษาตามมาตรา ๑๕และการเลือกกรรมการเพื่อดํา รงตําแหน่งต่างๆตามมาตรา ๑๖ ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๑๘
(๑) เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
(๒) ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
(๓) ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
มาตรา ๑๙ ให้กรรมการซ่ึ่งได้รับแต่งตั้งและรับเลือกตั้งมีวาระอยู่ในตําแหน่งคราวละสี่ปีและอาจได้รับแต่งตั้งหรือรับเลือกตั้งใหม่ได้แต่จะดํารงตําแหน่งเกินสองคราวติดต่อกันไม่ได้
มาตรา ๒๐ นอกจากการพ้น จากตํา แหน่งตามวาระ กรรมการซึ่งได้รับแต่งตั้งและรับเลือกตั้งพ้น จากตําแหน่ง
มาตรา ๒๑
ในกรณีตําแหน่งกรรมการซ่ึงไดรับเลือกตั้งว่างลงไม่เกินกึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการดังกล่าวทั้งหมดก่อนครบวาระให้คณะกรรมการเลือกสมาชิกสามัญ ผู้มีคุณสมบัติตามมาตรา ๑๘ เป็นกรรมการแทนภายในสามสิบวัน นับแต่วันที่ตําแหน่งกรรมการน้ันว่างลง
มาตรา ๒๒ ให้คณะกรรมการมีอํานาจหน้าที่
มาตรา ๒๓ นายกสภาการพยาบาล อุปนายกสภาการพยาบาลคนที่หนึ่ง อุปนายกสภาการพยาบาลคนที่สอง เลขาธิการ รองเลขาธิการ ประชาสัมพันธ์และเหรัญญิก มีอํานําเจ้าหน้าที่
หมวด ๔
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการ
มาตรา ๒๔ การประชุมคณะกรรมการต้องมีกรรมการมาประชุมไม่น้อยกว่า กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด จึงจะเป็นองค์ประชุม
มาตรา ๒๕ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุมชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการ หรือจะส่งความเห็นเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมการในเรื่องใดๆ ก็ได้
มาตรา ๒๖ มติของที่ประชุมคณะกรรมการในเรื่องต่อไปนี้ต้องไดรับความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษก่อน จึงจะดําเนินการตามมติน้ันได้
หมวด ๕
การควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ใดซึ่งมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล หรือมิได้เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์แสดงดว้ยวิธีใด ๆ ให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพดังกล่าว
มาตรา ๒๘ การขึ้นทะเบียน การออกใบอนุญาต การต่ออายุใบอนุญาตการออกหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบตัรเกี่ยวกับความรู้หรือความชํานาญเฉพาะทาง และหนังสือแสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการ
พยาบาลและการผดุงครรภ์ ให้เป็นไปตามข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๒๙ การขึ้นทะเบียนและออกใบอนุญาตให้แบ่งเป็นสามประเภท คือ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์และผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๓๐ ผู้มีสิทธิ์ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพตามมาตรา ๒๙ ต้องมีความรู้
มาตรา ๓๑ ผู้ขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตต้องเป็นสมาชิกสามัญ แห่งสภาการพยาบาลและมีคุณสมบัติอื่นตามที่กำหนดไวในข้อบังคับสภาการพยาบาล
มาตรา ๓๒ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๓๓ บุคคลผู้ซึ่งได้รับความเสียหายเพราะผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๓๔ เมื่อสภาการพยาบาลได้รบเรื่องการกล่าวหา หรือการกล่าวโทษตามมาตรา ๓๓หรือในกรณีที่คณะกรรมการมีมติวา่ มีพฤติการณ์อัน สมควรให้มีการพิจารณาเกี่ยวกับจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
มาตรา ๓๕ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการจริยธรรมจากสมาชิกสามัญ ประกอบด้วยประธานคนหนึ่งและอนุกรรมการมีจํา นวนรวมกัน ไม่น้อยกว่าสามคน
มาตรา ๓๖ เมื่อคณะกรรมการได้รับรายงานและความเห็นของคณะอนุกรรมการจริยธรรมแล้วให้คณะกรรมการพิจารณารายงานและความเห็นดังกล่าว
มาตรา ๓๗ ให้คณะกรรมการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการสอบสวนจากสมาชิกสามัญ
มาตรา ๓๘ ในการปฏิบัติหน้าที่ของคณะอนุกรรมการจริยธรรมและของคณะอนุกรรมการสอบสวนตามพระราชบัญญัติ
มาตรา ๓๙ ให้ประธานอนุกรรมการสอบสวนแจ้งข้อกล่าวหา หรือข้อกล่าวโทษพร้อมทั้งส่งสําเนาเรื่องที่กล่าวหา หรือกล่าวโทษ
มาตรา ๔๐ เมื่อคณะอนุกรรมการสอบสวนทํา การสอบสวนเสร็จสิ้นแล้วให้เสนอสํานวนการสอบสวนพร้อมท้ังความเห็นต่อคณะกรรมการโดยไม่ชักช้าเพื่อวินิจฉัยชี้ขาด
มาตรา ๔๑ เมื่อคณะกรรมการได้รับสํานวนการสอบสวน และความเห็นของคณะอนุกรรมการสอบสวนแล้ว
มาตรา ๔๒ ให้เลขาธิการแจงคำสั่งสภาการพยาบาลตามมาตรา ๔๑
มาตรา ๔๓ ภายใต้บังคับมาตรา ๒๗ ห้ามมิให้ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มาตรา ๔๔ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือกาพยาบาลและการผดุงครรภ์ซ่ึงอยู่ในระหว่างถูกสั่งฃงพักใช้ใบอนุญาต
มาตรา ๔๕ ผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ซ่ึงถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาตอาจขอรับใบอนุญาตอีกได้เมื่อพ้นสองปี
หมวด ๕ ทวิ พนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๕ ทวิ ให้พนกังานเจ้าหน้าที่มีอํานาจเข้าไปในสถานที่ต่อไปนี้เพื่อตรวจสอบใบหรือสิ่งของที่อาจใช้เป็นพยานหลักฐานในการพิจารณาหรือดําเนินคดี ระหว่างเวลาพระอาทิตยข์้ึนถึงพระอาทิตย์ตกหรือเวลาที่ทำ การของสถานที่อนุญาต ค้นหรือยึดเอกสารหลกัฐาน
มาตรา ๔๕ ตรี ในการปฏิบัติหน้าที่ พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัวพนักงานเจ้าหน้าที่แก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง
มาตรา ๔๕ จัตวา ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา บัตรประจา ตัวพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้เป็นไปตามแบบที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา ๔๕ เบญจ ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ผู้รับผิดชอบหรือปฏิบัติหน้าที่ในสถานที่ตามมาตรา ๔๕ ทวิ อํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
มาตรา ๔๕ จัตวา ในการปฏิบัติหน้าที่ ให้พนักงานเจ้าหน้าที่เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญา
มาตรา ๔๕ เบญจ ในการปฏิบัติหน้าที่ของพนักงานเจ้าหน้าที่ ให้ผู้รับผิดชอบหรือปฏิบัติหน้าที่ในสถานที่ตามมาตรา ๔๕ ทวิ อํานวยความสะดวกในการปฏิบัติงานของพนักงานเจ้าหน้าที่
หมวด ๖
บทกําหนดโทษ
มาตรา ๔๖ ผู้ใดฝ่าฝืนมาตรา ๒๗ หรือมาตรา ๔๓ ต้องระวางโทษจํา คุกไม่เกินสองปี หรือ ปรับไม่เกินสองหมื่นบาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ
มาตรา ๔๗ ผู้ใดฝ่ าฝื นมาตรา ๓๑ วรรคสาม ตอ้งระวางโทษปรับไม่เกินหน่ึงพนั บาท
มาตรา ๔๘ ผใู้ดไม่มาใหถ้อ้ยคา หรือไม่ส่งเอกสารหรือวตัถุใดๆ ตามที่เรียกหรือแจง้ใหส้ ่งตาม
มาตรา ๓๘ ตอ้งระวางโทษจา คุกไม่เกินหน่ึงเดือน หรือปรับไม่เกินหน่ึงพนั บาท หรือท้งัจา ท้งัปรับ
มาตรา ๔๘ ทวิ(๑)
ผู้ใดไม่อํานวยความสะดวกแก่พนักงานเจา้หน้าที่ตามความในมาตรา๔๕
เบญจ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินหนึ่งเดือนหรือปรับไม่เกินหนึ่งพันบาท หรือทั้งจํา ทั้งปรับ
อัตราค่าธรรมเนียม
(๔) ค่าขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นสอง
ฉบับละ ๒,๔๐๐ บาท
(๕) ค่าขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้นสอง
ฉบับละ ๒,๔๐๐ บาท
(๓) ค่าขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้นหน่ึง
ฉบับละ ๓,๐๐๐ บาท
(๖) ค่าขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ช้้นสอง
ฉบับละ ๒,๔๐๐ บาท
๒) ค่าขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ การผดุงครรภ์ ชั้นหนึ่ง
ฉบับละ ๓,๐๐๐ บาท
(๘) ค่าหนังสือรับรองการขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ฉบับละ ๑,๘๐๐ บาท
(๑) ค่าขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผปู้ระกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้นหนึ่ง
ฉบับละ ๓,๐๐๐ บาท
(๙) ค่าใบแทนใบอนุญาต และค่าใบแทนเอกสารตาม (๗)
ฉบับละ ๑,๘๐๐ บาท
(๗) ค่าหนังสืออนุมัติหรือวุฒิบัตรเกี่ยวกับความรู้และความชํานาญเฉพาะทาง หนังสือแสดงวุฒิอื่นในวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
ฉบับละ ๒,๔๐๐ บาท