Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4 ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์, เกิดความขาดแคลน - Coggle Diagram
บทที่ 4 ระบบสุขภาพกับเศรษฐศาสตร์
แนวคิดทางเศรษฐศาสตร์ เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
สังคมศาสตร์ + วิทยาสาตร์สุขภาพ = เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
เศรษฐศาสตร์สาธารณสุข
ทรัพยากรสุขภาพมีจำกัด
ความต้องการของมนุษย์ไม่จำกัด
องค์ประกอบและคำถาม
สุขภาพ
คำถามด้านสุขภาพ
สุขภาพคืออะไร
สุขภาพวัดได้อย่างไร
มีการเปรียบเทียบให้คุณค่าอย่างไรเมื่อเปรียบเทียบกับสินค้าทั่วไป
ระบบการให้บริการสาธารณสุข
คำถามด้านจัดระบบบริการสุขภาพ
มีระบบการทำอย่างไร
ปัจจัยและวัตถุดิบที่ใช้ในกระบวนการผลิต
การดำเนินการทางด้านการรักษาพยาบาล
คำถามด้านการคลังสาธารณสุข
ความจำเป็นและอุปสงค์
ผู้ป่วยควรจ่ายเท่าไหร่
โรงพยาบาลควรจะคิดเท่าไหร่
ผลิตอะไร ผลิตอย่างไร ผลิตเพื่อใคร
คำถามด้านการจัดสรรทรัพยากรสาธารสุข
ต้นทุน
ประโยชน์และนโยบาย
ระบบสุขภาพ
คือระบบการจัดการสุขภาพทั้งมวลที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กันส่งผลกระทบต่อสุขภาพและปัจจัยต่างๆที่เกี่ยวกับสุขภาพ
ระบบบริการสุขภาพ
ระบบสุขภาพแบบสังคมนิยม
รัฐเข้าไปจัดการสุขภาพ
ประชาชนทุกคนได้รับบริการจากรัฐ
ไม่อนุญาตให้มีกลไกตลาด
ระบบสุขภาพแบบครอบคลุมและเท่าเทียม
รัฐมีบทบาทในระบบสุขภาพมาก
ประชาชนทุกคนได้รับบริการสุขภาพอย่างครอบคลุม
ประชาชนไม่ต้องเสียค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง
ภายใต้เงื่อนไขของประเทศ
ระบบสุขภาพแบบสวัสดิการ
รัฐเข้ามาแทรกแซงกลไกการตลาดในการจัดบริการสุขภาพหลายๆทาง
รัฐมีส่วนรับผิดชอบเรื่องสุขภาพของประชาชน
ระบบสุขภาพแบบเสรีนิยม
มีการจัดบริการสุขภาพนรูปแบบเอกชน
รัฐเข้ามาแทรกแซงน้อย
องค์ประกอบด้านการจัดการสาธารณสุข
self care
PHC
Primary Care
Secondary care
Excellence center tertiary
การเข้าถึงบริการ
ความเพียงพอของบริการที่มีอยู่
การเข้าถึงแหล่งบริการ
ความสะดวกและสิ่งอำนวยความสะดวกของแหล่งบริการ
ความสามารถในการจ่าย
การยอบรับคุณภาพ
การผลิตสินค้าและบริการสาธารณสุขโดยภาครัฐ
จุดมุ่งหมายหลักไม่ใช่การแสวงหากำไรสูงสุด
เพื่อกระจายรายบริการให้ทั่วถึง
ยกระดับสถานะสุขภาพอนามัยของประชาชน
บทบาทเจ้าหน้าที่กับเศรษฐศาสตร์สาธารณสุขเพื่อการจัดการบริการสุขภาพ
เข้าใจพฤติกรรมการใช้บริการสุขภาพทั้งด้านอุปสงค์และอุปทาน
ช่วยในการจัดการด้านกำลังคนด้านสุขภาพ
ใช้ข้อมูลทางเศรษฐศาสตร์เพื่อใช้ในการเลือกดูแลสุขภาพ
เข้าใจแผนงบประมาณและนำมากำหนดนโยบาย
ประเภทการศึกษาเศรษฐศาสตร์ในระบบสุขภาพ
เศรษฐศาสตร์ระดับมหาภาค
เป็นการศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพโดยรวม
เศรษฐศาสตร์สุขภาพระดับจุลภาค
ศึกษาเกี่ยวกับระบบสุขภาพระดับย่อย
พฤติกรรมผู้รับบริการ
พฤติกรรมของผู้ให้บริการ
พฤติกรรมของในตลาดสุขภาพ
เกิดความขาดแคลน
แก้ปัญหาการขาดแคลนคือตัดสินใจหาทางเลือก
ทางเลือกที่เกิดประสิทธิภาพในการจัดบริการสุขภาพ
ทางเลือกที่เกิดความเป็นธรรมในการจัดบริการสุขภาพ