Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง, นางสาวสิดาพร เรืองขจร…
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ความหมาย
ความสามารถในการใช้ความรู้เพื่อพัฒนาและดำรงชีวิตของคนในท้องถิ่นมีการถ่ายทอดความรู้ไปใช้ในการพัฒนาท้องถิ่นจนเกิดเป็นความรู้ใหม่ที่มีการใช้และพัฒนาเป็นวงจรไม่จบสิ้น
ลักษณะสำคัญ
การใช้ความรู้ทักษะความเชื่อและพฤติกรรม
ความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนคนกับธรรมชาติคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ
องค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิต
การแก้ไขปัญหาการจัดการการปรับตัวการเรียนรู้เพื่อความอยู่รอด
แกนหลักหรือกระบวนทัศน์ในการมองชีวิตเป็นพื้นความรู้ในเรื่องต่างๆ
ลักษณะเฉพาะหรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง
การเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคมตลอดเวลา
วัฒนธรรมเป็นฐานไม่ใช่วิทยาศาสตร์
การบูรณาการสูง
ความเชื่อมโยงไปสู่นามธรรมที่ลึกซึ้งสูงส่ง
เน้นความสำคัญของจริยธรรมมากกว่าวัตถุธรรม12
ประเภท
หมวดที่ 3 ศิลปกรรมและโบราณคดี
หมวดที่ 4 การละเล่นดนตรีและการพักผ่อนหย่อนใจ
หมวดที่ 2 ภาษาและวรรณกรรม
หมวดที่ 5 ชีวิตความเป็นอยู่และวิทยาการ
หมวดที่ 1 ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อและศาสนา
กระบวนการอนุรักษ์ทุนภูมิปัญญาท้องถิ่น
การพัฒนา
การถ่ายทอด
การฟื้นฟู
การส่งเสริมกิจกรรม
การอนุรักษ์
การเสริมสร้างเอตทัคคะ
การค้นคว้า
การเผยแพร่แลกเปลี่ยน
การดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
การออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจนกับการบำบัดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
รำไม้พลอง
การลดลงของ TG, LDL-C, TG/HDL-C และการเพิ่มขึ้นของ HDL-C แสดงว่าการออกกำลังกายด้วยไม้พลองสามารถเพิ่มประสิทธิภาพการเผาผลาญสารอาหารไตรกลีเซอไรด์และโคเลสเตอรอลบางส่วนในร่างกายเพื่อใช้เป็นพลังงาน การเพิ่มขึ้นของ HDL-C ซึ่งเป็นผลดีต่อร่างกาย โดยเฉพาะผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่มาจากไขมันสะสมที่ผนังหลอดเลือด อีกทั้งยังมีการลดลงของสารบ่งชี้ TG/HDL-C ที่แสดงถึงภาวะดื้อต่ออินซูลิ
ทำให้ระดับ BUN ที่ลดลงอาจแสดงถึงการเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานของไตหรืออาจเนื่องจากมีการขยายตัวของหลอดเลือดทำให้ renal blood flow เพิ่มขึ้นเป็นผลให้มีการขับ BUN ออกจากร่างกายมากขึ้นหรืออาจมีการเพิ่มการเผาผลาญโปรตีนในตับเพื่อนำไปใช้ในกระบวนการ anabolism มากขึ้น
การนำศิลปะการรำพื้นบ้าน หรือเพลงพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้ประกอบจังหวะ
การออกกำลังกายแบบไม่ใช้ออกซิเจนกับการบำบัดโรคความดันโลหิตสูงและโรคเบาหวาน
สมาธิบำบัดในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
การหลั่งสารสื่อประสาทยังยับยั้งการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติซิมพาเธติค และกระตุ้นการทำงานของระบบประสาทอัตโนมัติพาราซิมพาเธติค ทำให้อัตราการเผาผลาญอาหารในร่างกายต่ำลงทำให้ตับเพิ่มกระบวนการสร้างกลัยโคเจนช่วยเสริมสร้างการทำงานของอินซูลินในการเก็บรับน้ำตาลเพื่อส่งไปที่ตับ
ทำให้อัตราการเต้นของหัวใจลดลงการหายใจช้าลงการใช้ออกซิเจนและการเผาผลาญพลังงานในร่างการลดลงทำให้อัตราการเผาผลาญอาหารในร่างกายต่ำลงเพิ่มกระบวนการผลิตกลัยโคเจนซึ่งเป็นสารอาหารที่สะสมในตับและลดการย่อยสลายสารอาหารที่จะเปลี่ยนไปเป็นพลังงานและทำให้ระดับของเบต้าเอนดอร์ฟินเพิ่มขึ้นทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดและความเครียดลดลง
การสวดมนต์ในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
คลื่นเสียงนี้จะไปทำให้เซลล์ประสาทของระบบประสาทสมองสังเคราะห์สารสื่อประสาทหลายชนิดบริเวณก้านสมองจะหลั่งสารสื่อประสาทชื่อซีโรโทนินเพิ่มขึ้น
ซีโรโทนินเป็นสารตั้งต้นในการสังเคราะห์สารสื่อประสาทอื่นๆ
อะเซทิลโคลินช่วยในกระบวนการเรียนรู้และความจำช่วยขยายเส้นเลือด
เมลาโทนินช่วยยืดอายุการทำงานของเซลล์ประสาทเซลล์สมองให้ชีวิตยืนยาวขึ้นและช่วยให้นอนหลับเพิ่มภูมิต้านทานร่างกายทำให้เซลล์สดชื่นขึ้น
มีฤทธิ์คล้ายยานอนหลับช่วยลดความวิตกกังวลลดความเครียดลดอาการซึมเศร้าลดระดับนํ้าตาลในเลือด
สมาธิบำบัดในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
การเปลี่ยนแปลงสารเคมีบางอย่างในร่างกาย ทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของการเผาผลาญในร่างกาย ลดระดับความดันซีสโตลิคและไดแอสโตลิค โดยสารอะเซทิลโคลิน สามารถช่วยขยายเส้นเลือดเพิ่มความยืดหยุ่นให้กับเส้นเลือดฝอย มีการเพิ่มเลือดไปเลี้ยงสมองส่วน frontal และ occipital และ alpha wave activity เพิ่มขึ้นและทำให้ระบบฮอร์โมนทำงานได้สมดุล
การประยุกต์เพลงพื้นบ้านในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง
ช่วยเพิ่มการทำงานของประสาทซิมพาเธติก ทำให้สมองได้พักผ่อน การนอนหลับดีขึ้น และหลอดเลือดขยายตัว
เสียงดนตรีไปกระตุ้นสมองใหญ่ (Cerebrum) ส่วนระบบลิมบิก (limbic system)ซึ่งเป็นกลุ่มเนื้อเยื่อสมองทำหน้าที่รวมกันหลายระบบกระตุ้นให้มีการสังเคราะห์สารสื่อประสาทซีโรโตนิน และสารอะเซทิลโคลิน
การนวดกดจุดฝ่าเท้า การนวดเท้าด้วยวัสดุพื้นบ้าน บำบัดอาการเท้าชาในผู้ป่วยโรคาหวาน
ช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดมาเลี้ยงฝ่าเท้า
วัสดุพื้นบ้าน เช่น กะลา รางไม้ไผ่
สาเหตุ หลอดเลือดที่ไปเลี้ยงเท้าตีบ เลือดไปเลี้ยงเท้าไม่พอ
การแช่เท้าด้วยน้ำสมุนไพรบำบัดอาการชาเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวาน
ช่วยให้กล้ามเนื้อเส้นเอ็นที่แข็งเกร็งค้างคลายตัว พลังงานที่เป็นพิษในร่างกายจึงจะระบายออกได้ดี
สาเหตุ กล้ามเนื้อเส้นเอ็นที่มือและเท้า ก็เกิดสภาพแข็งเกร็งค้าง ทำให้ขวางเส้นทางการระบายพิษจากร่างกาย
การดูแลผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม
การบริหารร่างกายด้วยท่าฤาษีดัดตน
การบริหารร่างกายด้วยท่าฤาษีดัดตนร่วมกับการนวดแผนไทย
การบริหารร่างกายด้วยท่าฤาษีดัดตนร่วมกับการนวดแผนไทย
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
การรำไม้พลองแบบป้าบุญมี
การรำวง
การฟ้อนรำ
การรำมวยไทย
รำลีลาศ
การรำมวยจีน
การเดินตาราง 9 ช่อง
การรำไทจี๋
นางสาวสิดาพร เรืองขจร เลขที่70