Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง, นางสาวศศิภา …
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ประเภท
หมวดที่ 1 ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อและศาสนาหมายถึงแบบอย่างที่ปฏิบัติสืบทอดกันมา
หมวดที่ 2 ภาษาและวรรณกรรมหมายถึงสิ่งที่สื่อความหมายด้วยเรื่องหรือตัวอักษรที่กำหนดไว้เป็น แบบแผนเพื่อใช้เป็นสื่อสร้างความเข้าใจซึ่งกันและกัน
หมวดที่ 3 ศิลปกรรมและโบราณคดีหมายถึงสิ่งที่มนุษย์สร้างสรรค์ขึ้นเพื่อความงามที่ให้คุณค่าทาง จิตใจหรือเพื่อประโยชน์ใช้สอยรวมทั้งสิ่งต่าง ๆ
หมวดที่ 4 การละเล่นดนตรีและการพักผ่อนหย่อนใจหมายถึงสิ่งที่มนุษย์แสดงออกเพื่อสนองความ ต้องการทางด้านร่างกายอารมณ์และจิตใจ
หมวดที่ 5 ชีวิตความเป็นอยู่และวิทยาการหมายถึงกิจกรรมการดำเนินชีวิตของบุคคลหรือกลุ่มชน
ความหมายและความเป็นมา
ความรู้ของคนในท้องถิ่นที่ได้มาจากประสบการณ์และความริเริ่มของคนในท้องถิ่นเป็นทั้งความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ระหว่างการสืบทอดมีการปรับประยุกต์และเปลี่ยนแปลงพัฒนา
ภูมิปัญญาท้องถิ่นถือกำเนิดมาพร้อมกับประเทศไทยทั้งเป็นภูมิปัญญาเพื่อการประกอบอาชีพการ ดำรงชีวิตการรักษาสุขภาพการรักษาเอกราชและความเป็นปึกแผ่นของประเทศการดำรงภูมิปัญญาท้องถิ่นไว้
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับ
การดูแลสุขภาพผู้ป่วย
ข้อเข่าเสื่อม
การบริหารร่างกายโดยใช้ท่าฤาษีดัดตน การนวด และประคบสมุนไพร
ลักษณะสำคัญ
เป็นเรื่องของการใช้ความรู้ทักษะความเชื่อและพฤติกรรม
แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนคนกับธรรมชาติคนกับสิ่งเหนือธรรมชาติ
เป็นองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิต
เป็นเรื่องของการแก้ไขปัญหาการจัดการการปรับตัวการเรียนรู้เพื่อความอยู่รอดของบุคคลชุมชน และสังคม
เป็นแกนหลักหรือกระบวนทัศน์ในการมองชีวิตเป็นพื้นความรู้ในเรื่องต่างๆ
มีลักษณะเฉพาะหรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง
มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคมตลอดเวลา
มีวัฒนธรรมเป็นฐานไม่ใช่วิทยาศาสตร์
มีการบูรณาการสูง
มีความเชื่อมโยงไปสู่นามธรรมที่ลึกซึ้งสูงส่ง
เน้นความสำคัญของจริยธรรมมากกว่าวัตถุธรรม12
ภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นองค์ความรู้ที่มีการสั่งสมถ่ายทอดกันมาอย่างเป็นระบบและีลักษณะเป็นพลวัต
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับ
การดูแลสุขภาพผู้ป่วย
โรคเรื้อรัง
การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
1.1 การนำการออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจน
รำไม้พลอง
1.2 การออกกำลังกายแบบไม่ใช้ออกซิเจน
การทำสมาธิ SKT
การเดินสมาธิหรือเดินจงกรม
การสวดมนต์เป็นเวลา 15 นาทีขึ้นไปหรือการสวดมนต์พร้อมกับเสียงเทป
การประยุกต์เพลงพื้นบ้าน
การนวดกดจุดฝ่าเท้า
การแช่เท้าด้วยน้ำสมุนไพรกับการบำบัดอาการชาเท้า
กระบวนการอนุรักษ์ทุนภูมิปัญญาท้องถิ่น
2) การอนุรักษ์กระทำโดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่นตระหนักถึงคุณค่าแก่นสาระและ ความสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่นต่างๆ
3) การฟื้นฟูโดยการเลือกสรรภูมิปัญญาที่กำลังจะสูญหายหรือที่สูญหายไปแล้วมาทำให้มีคุณค่าและ มีความสำคัญต่อการดำเนินชีวิตในท้องถิ่น
5) การถ่ายทอดโดยการนำภูมิปัญญาที่ผ่านการเลือกสรรกลั่นกรองด้วยเหตุผลอย่างรอบคอบและ รอบด้านแล้วไปถ่ายทอดให้แก่คนในสังคม
6) การส่งเสริมกิจกรรมโดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายการสืบสานและพัฒนาภูมิ ปัญญาของชุมชนต่างๆ
7) การเสริมสร้างเอตทัคคะควรส่งเสริมและสนับสนุนการพัฒนาศักยภาพของชาวบ้านผู้ดำเนินงาน และปราชญ์ท้องถิ่น
8) การเผยแพร่แลกเปลี่ยนการส่งเสริมและสนับสนุนกิจกรรมให้เกิดการเผยแพร่แลกเปลี่ยนภูมิ ปัญญาและวัฒนธรรมอย่างกว้างขวาง
1) การค้นคว้าวิจัยควรศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูลภูมิปัญญาของไทยในด้านต่างๆในระดับท้องถิ่น จังหวัดภูมิภาคและประเทศ
4) การพัฒนาควรริเริ่มสร้างสรรค์และปรับปรุงภูมิปัญญาให้เหมาะสมกับยุคสมัยและเกิดประโยชน์
ภูมิปัญญาท้องถิ่น
กับการป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
การรำไม้พลองแบบป้าบุญมี การรำวง การฟ้อนรำ การรำมวยไทย
การรำมวยจีน การรำไทจี๋ การเดินตาราง 9 ช่อง รำลีลาศ
นางสาวศศิภา จันทร์นุ่ม เลขที่ 63 รหัสนักศึกษา 602201064