Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Development of Nurse Director - Coggle Diagram
Development of Nurse Director
การจัดการการเปลี่ยนแปลง
องค์ประกอบหลัก 3 ประการ
โครงสร้างของการบริหารงานในองค์กร
บุคลากร
กระบวนการในการทำงาน
กระบวนการของการเปลี่ยนแปลง
ช่วงละลายพฤติกรรม
ช่วงการเปลี่ยนแปลง
ช่วงตกผลึกอีกครั้ง
รูปแบบของการเปลี่ยนแปลง
การเปลี่ยนแปลงเชิงรุก : การเปลี่ยนแปลงตนเองก่อนการได้รับการเปลี่ยนแปลงจากผู้อื่น
การเปลียนแปลงเชิงรับ :การถูกเปลี่ยนแปลงโดยผู้อื่น
บทบาทหน้าที่ของผู้บริหารในการจัดการ
แสดงบทบาทสนับสนุน ร่วมกับริรเิ่ม กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นและมีการคาดการณ์และวางแผนไว้ล่วงหน้าอย่างเหมาะสมเพื่อรองรับสถานการณ์ที่เกิดขึ้น
สาเหตุการเปลี่ยนแปลง
การนำการเปลี่ยนแปลงมาใช้ประโยชน์
การไล่ตามการเปลี่ยนแปลง
การต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
การต่อต้านเงียบ
การต่อต้านเปิดเผย
การปฏิเสธการเปลี่ยนแปลง
วิจัยเพิ่มเติม
ชาติชาย คงเพ็ชรดิษฐ์ และ ธีระวัฒน์ จันทึก..2559 การบริหารการเปลี่ยนแปลง: บทบาทของภาวะผู้นำและการสื่อสารในองค์การ, Veridian E-Journal, Silpakorn University, 9(1), 895-919
เป้าหมายหลัก 5 ประการของเชอร์เมอร์ฮอร์น
2) บุคลากร
3) วัฒนธรรมองค์การ
4) เทคโนโลยีระบบการทำงานและเทคโนโลยีสารสนเทศที่ใช้สนับสนุนระบบการทำงานในองค์การ
5) โครงสร้างองค์การสายการบังคับบัญชาและการสื่อสารในองค์การ
1) เปลี่ยนแปลงลักษณะการทำงานของพนักงาน
จอห์น ค็อตตเตอร์ (John Kotter, 1996)
1) การสร้างส านึกแห่งความเร่งด่วน
2) การริเริ่มแนวทางร่วมกัน
3) สร้างวิสัยทัศน์เชิงกลยุทธ์และริเริ่มสร้างสรรค์
4) การสื่อสารให้ผู้อื่นทราบ
5) การมอบอำนาจ
6) สร้างความสำเร็จระยะสั้น
7) สร้างการเปลี่ยนแปลงให้เกิดอย่างต่อเนื่อง
8) ให้ความส าคัญกับผลงานที่ดีและวัฒนธรรมการท างานใหม่ๆ
การจัดการงบประมาณ
การจัดการงบประมาณ
ขั้นการบริการงบประมาณ
เพื่อประสิทธิภาพในการบริหารงบประมาณ จึงต้องมีการควบคุมและแก้ไขปัญหาข้อบกพร่องใน การใช้จ่าย
เพื่อไม่ให้เกิดความชะงักในการปฏิบัติงาน ในโครงการต่างๆต้องให้เป็นไปตามตารางเวลาที่กำหนด
เพื่อธำรงไว้ซึ่งเจตนารมณ์ของฝ่ายบริหารที่อนุมัติงบประมาณ เพื่อให้งานได้ดำเนินไปตามแผน
เพื่อให้มีความยืดหยุ่นได้ในทุกระดับของการบริหารสามารถใช้จ่ายเงินงบประมาณในการดำเนินงาน โครงการต่างๆ ให้บรรลุวัตถุประสงค์ตามที่ได้รับอนุมัติ
เพื่อความยืดหยุ่นของงบประมาณ ซึ่งเป็นเป้าหมายสาคัญในการบริหารงบประมาณ เพราะหากมีสถานการณ์ สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลง อย่างไม่ได้คาดหมายไว้ก่อน ก็สามารถที่จะเปลี่ยนแปลง งบประมาณให้สอดคล้องกับสถานการณ์ในขณะนั้น โดยการยืดหยุ่นในการใช้จ่ายงบประมาณ ประเภทของระบบงบประมาณ
ปัญหา
การดำเนินการหยุดชะงักไม่เป็นไปตามแผน
ขาดประสิทธิภาพในการบริหาร
ขาดการตรวจสอบ และควบคุมกำกับที่ดี
ขาดความรู้ประสบการณ์ในการปรับเปลี่ยนแผนให้สอดคล้องกับสถานการณ์ ทำให้แผนงานไม่สำเร็จตามเป้าประสงค์
ขั้นอนุมัติงบประมาณ
เป็นอำนาจของผู้บริหาร (คณะกรรมการบริหาร) หรือของรัฐสภาโดยรัฐสภาจะแต่งตั้งคณะกรรมาธิการขึ้นพิจารณางบประมาณที่ฝ่ายบริหารเสนอมา ดังนั้นการจะให้งบประมาณได้รับการอนุมัตินั้นผู้นำเสนอจะต้องใช้กลยุทธ์ เช่น การหาเสียงสนับสนุนจากบุคคล ฝ่าย ต่างๆ โดยการหาข้อมูลเหตุผลมาสนับสนุนโน้มน้าว ให้ทีมอนุมัติเข้าใจเห็นความจำเป็นหรือความสาคัญของ โครงการต่างๆ สร้างความเชื่อถือ ศรัทธาในพฤติกรรมการทำงานของหน่วยงาน เพื่อทาให้งบประมาณที่ขอ อนุมัติไปได้รับการจัดสรร
ปัญหา
ทีมกรรมการอนุมัติบางคนขาดประสบการณ์ใน การพิจารณา หรือบางคนพิจารณาในรายละเอียดมากเกินไป คณะกรรมการมาพิจารณาไม่ครบองค์ประชุม หรือมีการอภิปรายปัญหา ข้อมูลต่างๆ มากเกินไป และที่สำคัญคณะกรรมการแต่ละคนมุ่งแต่ผลประโยชน์ ให้กับพวกพ้องของตน ทาให้ใช้เวลามากในการที่จะตกลงกันได้
ขั้นเตรียมงบประมาณ
การกำหนดวัตถุประสงค์ หรือจัดทำแผนโครงการต่างๆ ประมาณการรายจ่าย
การรวบรวมปัญหา วิเคราะห์การใช้จ่ายในแต่ละโครงการของแต่ละงาน
แก้ไขปรับปรุงยอดรายจ่าย
เสนอแผนงบประมาณต่อฝ่ายบริหาร
ปัญหา
ขาดข้อมูลสนับสนุนในคำของบประมาณ
ขาดการวางแผนงานที่ดี
ขาดความรู้ประสบการณ์ในการวงแผนและในเรื่องงบประมาณ
ขาดการกลั่นกรองและการจัดลาดับความสำคัญในคำของบประมาณ
ขาดการประมาณการงบประมาณ
การจัดสรรงบประมาณทางด้านสุขภาพ
การจัดสรรงบปรัมาณยอดรวม
งบประมาณที่รวมยอดที่กำหนดไว้แล้ว่าจะให้เท่าไร มีพื้นฐานมาจากจำนวนเตียงผู้ป่วย จำนวนผู้ป่วยนอก/ใน
เหมาจ่ายรายหัวประชากร
กำหนดจากจำนวนประชากรในพื้นที่ที่รับผิดชอบ โดยกำหนดค่าราคาต่อหัวประชากรไว้เท่ากันทุกคนทั้งประเทศ
รายกิจกรรม
กำหนดค่าราคาในแต่ละกิจกรรมให้กับผู้ป่วยแต่ละประเภท
ตามรายโรคที่ผู้ป่วยเป็น
จัดกลุ่มวินิจฉัยโรคร่วมและใช้น้ำหนักสัมพัทธ์ในการจ่ายค่รักษาพยาบาลผู้ป่วยในการกำหนดอัตตาราคาพื้นฐาน
รูปแบบการจัดการงบประมาณ
งบประมาณแบบเน้นการจัดการ
งบประมาณแบบเน้นการวางแผน
งบประมาณแบบเน้นการควบคุม
งบประมาณที่เน้นการแก้ปัญหาข้อจำกัดทางทรัพยากร หรือ งบประมาณฐานศูนย
บทบาทผู้บริหารการพยาบาล หรือหัวหน้าพยาบาล ในการจัดการงบประมาณ
บริหารงบประมาณ ควบคุมค่าใช้จ่าย
ร่วมเป็นคณะกรรมการพิจารณางบประมาณ จัดทำคู่มืองบประมาณ
จัดทำงบประมาณของกลุ่มการพยาบาล
วางแผน/จัดให้มีการพัฒนาความรู้เกี่ยวกันการเงินและงบประมาณ
ร่วมกำหนดพันธกิจ นโยบาย เป้าหมายในการจัดทำและจัดสรรงบประมาณ
จากการศึกษาเพิ่มเติม (อ้างอิงจาก วิจัยชื่อเรื่อง บทบาทผู้บริหารการพยาบาล สงขลานครินทร์เวชสาร ปีที่ 25 ฉบับที่5)
จัดทํางบประมาณด้านการส่งเสริมสุขภาพของโรงพยาบาลให้ชัดเจน เพราะที่ผ่านมาโรงพยาบาลจะให้งบประมาณเพื่อการรักษาพยาบาลเป็นส่วนใหญ่
จัดสรรค่าตอบแทนให้แก่เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานล่วงเวลาในงานส่งเสริมสุขภาพ
จัดหางบประมาณเสริมกรณีงบประมาณของโรงพยาบาลไม่เพียงพอ
กําหนดงบประมาณในการพัฒนาบุคลากรเพื่อให้มีศักยภาพในการจัดบริการส่งเสริมสุขภาพ
ประเมินผลการใช้งบประมาณด้านการส่งเสริมสุขภาพ
วางแผนงบประมาณให้สอดคล้องกับงานด้านบริการส่งเสริมสุขภาพแก่ผู้ป่วย ญาติ และครอบครัว
ชนิดของงบประมาณ
งบลงทุน
งบเงินอุดหนุน
งบดำเนินการ
ค่าตอบแทน
ค่าวัสดุ
ค่าสารธารณูปโภค
ค่าใช้สอย
งบเงินสด
งบบุคลากร
เงินเดือน
ค่าจ้างประจำวัน
ค่าจ้างชั่วคราว
งบแผนงาน
เพิ่มเติมจากวิจัย Financial management roles of nurse managers in selected public hospitals in KwaZulu-Natal province, South Africa บทบาทการจัดการทางการเงินของผู้จัดการพยาบาลในโรงพยาบาลของรัฐที่เลือกในจังหวัดควาซูลูนาทาลประเทศแอฟริกาใต้
บบทบาทของ NMs ขยายไปถึงการปฏิบัติงานและการมีส่วนร่วมในกิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการทำงานทางการเงินของโรงพยาบาล ต้องมี
1.การวางแผนทางการเงิน
2.การตรวจสอบทางการเงินการตัดสินใจทางการเงินและ
3.การควบคุมทางการเงิน
การวางแผน
การวางแผนเชิงกลยุทธ์
1 ช่วยให้องค์กรมีกรอบและทิศทางที่ชัดเจน
2 ช่วยให้ผู้บริหารคิดอย่างเป็นระบบ
3 ช่วยสร้างความพร้อมให้องค์กร
4 ช่วยสร้างประสิทธิภาพในการแข่งขัน
5 ช่วยให้การทำงานเกิดความสอดคล้องในการปฏิบัติหน้าที่
6 ช่วยให้องค์กรมีมุมมองที่ครอบคลุม
ปัญหาที่พบในการปฏิบัติงาน และการแก้ไข
ปัญหาที่พบในการวางแผน
ขาดความรู้และทักษะเกี่ยวกับแผน แก้ไขโดย ศึกษาเกี่ยวกบการวางแผให้มากขึ้น ขอคำแนะนำจากผู้ที่มีประสบการณ์
ขาดความเข้าใจในสถานการณ์ที่มีผลกระทบต่อการวางแผน แก้ไขโดย ทำความเข้าใจสถานการณ์ต่างๆ มองผลกระทบในภาพรวมมากขึ้น
มักวางแผนเชิงรับมากกว่าเชิงรุก แก้ไขโดย การมองบริบทของหน่วยงาน แสถานการณ์นั้นๆ ปรับให้เหมาะสม ว่าควรเป็น เชิงรับ หรือเชิงรุก
ขาดการสนับสนุนที่พอเพียงจากองค์การ
ใช้แผนไม่เหมาะสมและมีการต่อต้านแผนอย่างเปิดเผย
กิจกรรมของแผนไม่ชัดเจนมีรายละเอียดไม่พอ
ลักษณะของแผนมุ่งการควบคุมมากกว่าเป็นแนวทางในการปฏิบัติ
แก้ไขโดยศึกษาเกี่ยวกบการวางแผนให้มากขึ้น
ขอคำแนะนำจากผู้ที่มีประสบการณ์
ทำความเข้าใจสถานการณ์ต่างๆ มองผลกระทบในภาพรวมมากขึ้น การมองบริบทของหน่วยงาน แสถานการณ์นั้นๆ ปรับให้เหมาะสม ว่าควรเป็น เชิงรับ หรือเชิงรุก
รูปแบบของการวางแผน
ระยะสั้น
แผนประจำวัน
ตารางการทำงานของพยาบาล
ตารางการจัดประชุม
เป็นแผนการทำงานตั้งแต่
1 ชั่วโมง จนถึง 3 ปี
แผนนโยบาย
มีความซับซ้อนมากกว่าแผนระยะยาว
ระยะยาว
อาจเป็นแผน 5 ปี 15 ปี 20 ปี ซึ่งเรียกว่า แผนกลยุทธ์ แต่ถ้าแผนระดับผู้ป่วย เช่น ในหอผู้ป่วย แผนระยะยาวอาจเป็นแผน 6 เดือน หรือ 1 ปี ก็ได้
ประโยชน์ของการวางแผน
ประหยัดแรงงาน วัสดุและเวลา
ถ้าทุกฝ่ายได้ร่วมวางแผนจะเกิดความรู้สึกเป็นเจ้าของงานนั้นๆ
ผู้นิเทศสามารถควบคุมติดตามและประเมินผลงานได้ดี
เกิดระเบียบในการปฏิบัติงาน
ลักษณะการวางแผนการ
ปฏิบิตงานที่ดี
เปิดโอกาสให้ผู้ร่วมงานได้มีส่วนร่วมในการวางแผน
ปรับปรุงแก้ไขได้เมื่อจำเป็น
มีวัตถุประสงค์แน่นอน ชัดแจ้งเข้าใจง่าย
นำไปปฏิบัติได้
กระบวนการวางแผนกลยุทธ
วิจัย : กรอบแนวคิดการศึกษาการวางแผนและการบริหารแผน Conceptual Framework of Planning and Plan Management (สัญญา เคณาภูมิ และ เสาวลักษณ์ โกศลกิตติอัมพร, 2560)
ผลการวิจัย การวางแผนเป็นเรื่องสำคัญอย่างยิ่งของการบริหารงานเพราะเป็นการกำหนดแนวทางการปฏิบัติล่วงอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งมีกระบวนการวางแผนการปฏิบัติงานที่สำคัญ ดังนี้
การวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation Analysis)
การกำหนดวัตถุประสงค์ และเป้าหมาย (Objectives and Goals)
การกำหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหา (Alternatives)
การประเมินเป้าหมายและทางเลือก (Goal and Plan Evaluating)
การเลือกเป้าหมายและแผนงาน (Goal and Pan Selection)
การจัดทำแผน และแผนประจำปี (Plan and Operation Plan Making)
การดำเนินตามเป้าหมาย และแผนงาน (Implementation)
การติดตามความก้าวหน้าและการควบคุม (Monitor and Control) และการประเมินผลแผน
การจัดการบุคคล
วิจัย การจัดอัตรากำลังบุคลากรทางการพยาบาล ตามความต้องการการพยาบาลของงานผู้ป่วยนอก โรงพยาบาลนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม จาก วารสารแพทย์เขต4-5 ปี 2561
คำนวณอัตรากำลังบุคลากรทางพยาบาล โดยใช้สูตรกองการพยาบาล กระทรวงสาธารณสุข สูตร 4 เปรียบเทียบกับสูตรตามกรอบอัตรากำลังตามโครงสร้างการบริหารของโรงพยาบาลชุมชน กระทรวงสาธารณสุข
ผลการวิจัยพบว่า การคำนวณอัตรากำลังทางการพยาบาลของงานผู้ป่วยนอกสามารถเลือกใช้การคำนวณจากสูตรกองการพยาบาล สูตร 4 หรือใช้การคำนวณตามกรอบอัตรากำลังตามโครงสร้างการบริหารของโรงพยาบาลชุมชน กระทรวงสาธารณสุข ที่ผลการคำนวณไม่มีความแตกต่างกัน
ระบบการจำแนกประเภทผู้ป่วย เป็นวิธีการจัดกลุ่มผู้ป่วยตามปริมาณอ้างอิงจาก การจัดอัตรากำลังบุคลากรพยาบาล ตามระบบการจำแนกผู้ป่วย หอผู้ป่วยใน โรงพยาบาลขามแกแสง นครราชศรีมา.2011.วารสารวิทยาลับบรมราชชนี นครราชศรีมา.17(1),5-16
กระบวนการในการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล
การวางแผนอัตรากำลัง :
เป็นการคาดการณ์เกี่ยวกับ ประเภท คุณภาพ คุณสมบัติของบุคลากร เพื่อตอบสนองเป้าหมายขององกรณ์ แบ่งเป็น 1. แบบแผนระยะสั้น 2. แบบแผนระยะยาว
การจัดตารางการปฏิบัติงาน
เป็นกระบวนการควบคุมและประเมินกิจกรรมการจัดอัตรากำลังเพื่อให้มีอัตรากำลังที่เหมาะสมเพียงพอในการให้บริการพยาบาลตลอดช่วงเวลาของการบริการ
การกระจายอัตรากำลัง
เป็นกระบวนการกระจายและการผสมผสานอัตรากำลังในแต่ละประเภทที่มีอยู่ในแต่ละหน่วยงานให้เหมาะสมเพียงพอกับปริมาณภาระงานและความต้องการการพยาบาลของผู้ป่วยในช่วงเวลาปฏิบัติการนั้น
การจัดอัตรากำลังตามประเภทผู้ป่วยของ Warslers
ประเภท 3
อาการป่วยปานกลาง
ต้องการพยาบาล 5-6 ชั่วโมง เฉลี่ย 5.5 ชั่วโมง
ประเภท 4
อาการระดับต่ำกว่าระดับวิกฤติ
ต้องการพยาบาล 7-8 ชั่วโมง เฉลี่ย 7.5 ชั่วโมง
ประเภท 2
อาการป่วยเล็กน้อย
ต้องการพยาบาล 3-4 ชั่วโมง เฉลี่ย 3.5 ชั่วโมง
ประเภท 5
อาการในระยะวิกฤติหรือผู้ป่วยอาการหนัก
ต้องการพยาบาล 10-14 ชั่วโมง เฉลี่ย 12 ชั่วโมง
ประเภท 1
สามารถดูแลตนเองได้
ต้องการพยาบาล 1-2 ชั่วโมง เฉลี่ย1.5 ชั่วโมง
ปัจจัยที่มีผลต่อการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล ให้เพียงพอ (งานวิจัย ทบทวนวรรณกรรมขององค์ประกอบของการวางแผนการจัดอัตรากำลังทางการพยาบาล)
1.ปัจจยเกี่ยวกับองค์กรพยาบาล
2.ปัจจัยที่เกี่ยวกับการบริการสุขภาพ
3.ปัจจัยที่เกี่ยวกับผู้ป่วย
4.ปัจจัยที่เกี่ยวกับบุคลากร
5.ปัจจัยอื่นๆนอกองค์กร
การจัดการทรัพยากร
การจัดสรรวัสุอุปกรณ์ (อ้างอิงจาก สำนักสนับสนุนบริการสุขภาพ
เขต 2 จ.พิษณุโลก)
วางแผนงบประมาณในการจัดหาวัสดุอัปกรณ์
สามารถตรวจสอบงบประมาณที่ใช้จ่ายได้
ใช้ทรัพยากรที่จำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ
หลักการในการจัดการทรัพยากรงบประมาณ วัสดุ อุปกรณ์ (อ้างอิงจาก วารสารสภาการพยาบาล ปีที่ 24 ฉบับที่ 4 เรื่อง ลักษณะฝ่ายการพยาบาลที่เป็นเลิศในโรงพยาบาลตติยภูมิ)
จัดทำงบประมาณที่สอดคล้องกับตัวชี้วัด
วางแผนงบประมาณที่คำนึงถึงต้นทุน และคุณภาพ
ใช้ทรัพยากรที่จำกัดอย่างมีประสิทธิภาพ
บริหารค่าตอบแทนให้เหมาะสมกับภาระงานของบุคลากร
จัดหาวัสดุ อุปกรณ์ที่ทันสมัยจำนวนเพียงพอพร้อมใช้
สามารถตรวจสอบงบประมาณที่ใช้จ่ายได้
อุปกรณ์การแพทย์ที่มีการจัดการทั่วทั้งองค์กร ตามแผน
มีวัสดุอุปกรณ์สำรองไว้ สำหรับอุปกรณ์ทางการแพทย์ทั้งหมด
อุปกรณ์การแพทย์ มีการควบคุมให้เป็นไปตามมาตรฐานสม่ำเสมอ
อุปกรณ์การแพทย์ได้รับการทดสอบเมื่อรับมาใหม่และหลังจากใช้งานตามความเหมาะสม
มีโปรแกรมการบำรุงรักษาเชิงป้องกัน
บุคคลที่ทำหน้าที่ต้องผ่านการรับรองในการให้บริการ
การจัดสรรบุคลากร (อ้างอิงจาก การบริหารงานทรัพยากรบุคคล โรงพยาบาลราชวิถี )
หลักการในการจัดการทรัพยากรบุคคล (อ้างอิงจาก วารสารสภาการพยาบาล ปีที่ 24 ฉบับที่ 4 เรื่อง ลักษณะฝ่ายการพยาบาลที่เป็นเลิศในโรงพยาบาลตติยภูมิ)
สรรหา/คัดเลือก คนมีความสามารถทางการพยาบาล มาร่วมงาน
มีแผนพัฒนาบุคลากรที่ชัดเจนตามบันไดอาชีพ
มีแผนสร้างนักวิชาการ/นักวิจัย และสร้างคนใหม่อย่างต่อเนื่อง
มีระบบพยาบาลพี่เลี้ยงในการปฏิบัติงาน
มีการธำรงรักษาบุคลากรที่เป็นคนดี คนเก่งให้อยู่ในองค์การ
ตระหนักถึงคุณภาพชีวิตของบุคลากร
กำหนดสมรรถนะของผู้ปฏิบัติงานแต่ละตำแหน่งชัดเจน
พัฒนาระบบบริหารจัดการบุคลากร และกำหนดโครงสร้างด้านทรัพยากรบุคคลให้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ พันธกิจ
สนับสนุนและส่งเสริมให้บุคลากรมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม สอดคล้องกับภารกิจ
พัฒนาระบบการประเมินภาระงาน การประเมินผลการปฏิบัติงานอย่างยุติธรรม เสมอภาค โปร่งใส
ให้ความสำคัญกับคุณภาพชีวิตของบุคลากร เพื่อทำให้เกิดแรงจูงใจ
การบริหารทรัพยากรมีความสำคัญอย่างไรต่อองค์กร
ได้รับและใช้อุปกรณ์ทางการแพทย์ที่เหมาะสมและทันสมัย
อัตราบุคคลากรทางการแพทท์มีปริมาณเพียงพอในการดูแลผู้ป่วย
ศจี อนันต์นพคุณ.(2542). กลวิธีการบริหารงานอย่างมีประสิทธิภาพ . สงขลา : ชลบุตรกราฟฟิค
ประหยัดทรัพยากรและใช้ทรัพพยากรได้อย่างคุ้มค่าและมีประสิทธิภาพ
แนวทางการจัดระบบบริหารจัดการทรัพยากรของโรงพยาบาล กรณีมีการระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ในวงกว้าง
โดย กรมการแพทย์กระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับ คณาจารย์คณะแพทยศาสตร์จาก มหาวิทยาลัยต่างๆ ฉบับวันที่ 4 กมภา ุ พันธ์พ.ศ. 2563
1) ใช้เฉพาะผู้ป่วยที่ยืนยันแล้วเท่านั้นในสถานการณ์ที่มีผู้ป่วยยืนยนจำนวนมาก
2) เป็น ward ที่มการระบายอากาศท ี่ดีไม่ติดเครื่องปรับอากาศ ทิศทางลมต้องให ้บุคลากรอยู่เหนือลมตลอด
3) หากเป็น ward ติดเครื่องปรับอากาศ ต้องแยกเคาน์เตอร์เจ้าหน้าที่ออกจากหองของผู้ป่วย
4) ระยะห่างระหวางเตียงผู้ป่วยอย่างน้อย 1 เมตร และมีม่านหรือฉากกั้นนระหว่างเตียง
5) ห้องน้ํารวมเฉพาะใน ward นี้ไม่ปะปนกับผู้ป่วยอื่นๆ
6) ผู้ป่วยทุกรายต้องสวมหน้ากากอนามัย
7) บุคลากรทางการแพทย์สามารถสวม PPE ในการดูแลผู้ป่วยในคราวเดียวกันหลายรายได้ยกเว้น ต้องเปลี่ยน
8) ถุงมือทุกครั้งที่ดูแลผู้ป่วยรายถัดไป และเปลี่ยน PPE ทุกครั้งที่มีการปนเปื้อนสารคัดหลั่ง
คุณสมบัติของหัวหน้าฝ่ายการพยายาล
ด้านวิชาการ
จบการศึกษาระดับปริญญาตรีด้านพยาบาลศาสตร์/ได้รับใบประกอบวิชาชีพ/เป็นสมาชิกการพยาบาล/ปริญญาโทบริหารหรือเที่ยบเท่า
ด้านปฏิบัติการ
กำหนดขอบเขตหน้าที่ความรับผิดชอบ
ติดตามประเมินผลการจัดบริการพยาบาล
กำหนดทิศทางการบริการพยาบาล
จัดหา ควบคุมพัสดุ ครุภัณฑ์เครื่องมือทางการแพทย์และการพยาบาลให้เพียงพอ
สำรวจ วิเคราะห์หาปริมาณความต้องการกำลังคนทางการพยาบาล
กำหนดมาตรฐานการบริการพยาบาล
ควบคุม ติดตาม และกำกับระบบบริการพยาบาลในหน่วยงานที่รับผิดชอบ
ด้านประสบการณ์
มีการเลื่อนขั้นตามลำดับ
ประสบการณ์การด้านการจัดการ
มีประสบการณ์ด้านการพัฒนาคุณภาพโรงพยาบาล
การมอบหมายงาน
ปัจจัยการมอบหมายงาน
ภาระงาน
ความรู้ ความชำนาญ
ประสบการณ์การทำงาน
ความสามรถของบุคคล
ค่าตอบแทน
การกระจายงานตามลำดับขั้น ตำแหน่ง