Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ :silhouettes:, นางสาวสุญญา พลเยี่ยม …
4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ :silhouettes:
การคลอดเฉียบพลันและการตกเลือดหลังคลอด :no_entry:
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitous Labor) :warning:
ใช้เวลาตั้งแต่เจ็บครรภ์จนถึงคลอด
น้อยกว่าหรือเท่ากับ 3 ชั่วโมง หรือระยะที่ 2 ของการคลอดใช้เวลาน้อยกว่า 10 นาที :recycle:
สาเหตุและปัจจัยส่งเสริม :red_flag:
แรงต้านทานของเนื้อเยื่อช่องทางคลอดไม่ดี
การหัดรัดตัวของกล้ามเนื้อมดลูกและกล้ามเนื้อหน้าท้องแรงผิดปกติ
ผู้คลอดครรภ์หลัง
ผู้คลอดที่มีเชิงกรานกว้าง
เคยมีประวัติคลอดเฉียบพลันหรือคลอดเร็ว
ผู้คลอดไม่มีความรู้สึกเจ็บปวดจากการคลอดหรือไม่รู้สึกอยากเบ่งซึ่งพบได้น้อยมาก
ทารกตัวเล็ก
ผู้คลอดไวต่อการใช้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูก
อาการและอาการแสดง :star:
มีอาการเจ็บครรภ์อย่างมาก มดลูกมีการหดรัดตัวอย่างรุนแรงและถี่มากกว่า 5 ครั้ง ในเวลา10 นาที
ตรวจภายในพบปากมดลูกเปิดขยายเร็ว ครรภ์แรกปากมดลูกเปิดขยายมากกว่าหรือเท่ากับ5 เซนติเมตร/ชั่วโมง
ปากมดลูกเปิดมากกว่าหรือเท่ากับ 10 เซนติเมตร/ชั่วโมง
ภาวะแทรกซ้อน :black_flag:
ภาวะแทรกซ้อนต่อมารดา :red_flag:
เนื้อเยื่อบริเวณช่องทางคลอดฉีกขาด
ติดเชื้อที่แผลฝีเย็บ
ตกเลือดหลังคลอด
อาจเกิดภาวะน้ำคร่ำอุดตันในหลอดเลือด
มดลูกแตกจากการหดรัดตัวของมดลูกอย่างรุนแรง
ีการคั่งของเลือดภายใต้ชั้นผิวหนังที่ฉีกขาด
ภาวะแทรกซ้อนต่อทารก :checkered_flag:
เลือดออกในสมอง
อาจเกิดความผิดปกติของกล้ามเนื้อแขนถูกดึงมากเกินไป
อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ทารกได้รับบาดเจ็บเนื่องจากการกระทบกระแทกเพราะช่วยคลอดไม่ทัน
การรักษา :<3:
ให้การดูแลตามอาการ
การให้ยา รายที่ให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกควรหยุดให้ยาและดูแลอย่างใกล้ชิดอาจให้ยายับยั้งการหดรัดตัวของมดลูก
คลอดเฉียบพลันภายหลังคลอดแพทย์มักจะให้ยา
ปฏิชีวนะเพื่อป้องกันการติดเชื้อ และให้ยา Methergin
การผ่าตัด
กระบวนการพยาบาล :question:
การซักประวัติ ได้แก่ ประวัติการคลอดเฉียบพลันหรือการคลอดเร็วในครรภ์ก่อน ความไวต่อการเร่งคลอด ลักษณะอาการเจ็บครรภ์ หรืออาการอื่นๆร่วมกับการเจ็บครรภ์
การตรวจร่างกาย
ตรวจภายใน
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
การฟังเสียงหัวใจทารก และติดตาม Electronic Fetal monitoring
ภาวะจิตสังคม
การตกเลือดหลังคลอด (Postpartum Hemorrhage) :red_flag:
การจำแนกการตกเลือดหลังคลอด :no_entry:
การตกเลือดหลังคลอดทันที(Early or immediatePPH)
ตกเลือดภายใน 24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด
การตกเลือดหลังคลอดภายหลัง (Late or delayedPPH)
การตกเลือดภายหลัง 24 ชั่วโมงจนถึง6 สัปดาห์หลังคลอด
สาเหตุและปัจจัยเสี่ยงของการตกเลือดหลังคลอด :green_cross:
Uterine atony
Tear of birth canal
Retained pieces of placenta or membrane
Hematoma
Coagulopathy
-Uterine subinvolution
Uterine subinvolution
ผลกระทบต่อทารก :<3:
ศีรษะของทารกได้รับอันตรายจากการรับทารกไม่ทัน
ทารกเสี่ยงต่อการเกิดภาวะเลือดออกในสมอง
เสี่ยงต่อการเกิดสายสะดือขาด
แนวทางการป้องกันและรักษาภาวะตกเลือดหลังคลอด :warning:
Recognition and Prevention
Readiness
Response
Reporting and Learning
การประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อการตกเลือดในมารดาหลังคลอด :red_cross:
Black ground and Body condition
Breast and Lactation
Uterus
Bladder
Bleeding or Lochia
Episiotomy
ภาวะน้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด :red_cross:
สาเหตุและพยาธิสรีรภาพ :no_entry:
การหดรัดตัวของมดลูกที่ถี่และรุนแรง
ถุงน้ำคร่ำแตก
ทารกตายในครรภ์เป็นเวลานาน
รกรอกตัวก่อนกำหนด
ปัจจัยเสริมอื่นๆ เช่น น้ำคร่ำมีขี้เท่าปน การคลอดเฉียบพลันรกเกาะต่ำ เป็นต้น
อาการและอาการแสดง :warning:
ระยะที่1 ภาวะไหลเวียนโลหิตล้มเหลว (hemodynamiccollapse) :red_flag:
หายใจลำบาก
แน่นหน้าอก
เขียวตามปลายมือปลายเท้า
หัวใจและปอดหยุดทำงานตรวจพบความดันโลหิตต่ำ ชีพจรเร็ว
ทารกในครรภ์อาจเกิดภาวะขาดออกซิเจน
ระยะที่2 ภาวะเลือดไม่แข็งตัว :black_flag: (coagulopathy)
มดลูกหดรัดตัวไม่ดีมีการตกเลือดหลังคลอด
ตรวจพบเกร็ดเลือดต่ำ
ระยะเวลาการแข็งตัวของเลือดยาวนาน เกิดภาวะ DICและเสียชีวิในที่สุด
การรักษา :recycle:
ป้องกนัและแก้ไขภาวะขาดออกซิเจน ด้วยการให้ออกซิเจน 100%
ป้องกันระบบการไหลเวียนโลหิต และระบบหายใจล้มเหลว
ป้องกันและแก้ไขภาวะเลือดแข็งตัวผิดปกติและภาวะตกเลือด
ช่วยคลอดให้เร็วที่สุดเพื่อป้องกันอันตรายจากภาวะขาดออกซิเจนของทารก
การพยาบาล :<3:
ประเมินสภาพผู้คลอดหรือมารดาหลังคลอดอย่างใก้ลชัด
ตรวจเช็คและเตรียมอุปกรณ์ช่วยฟื้นคืนชีพให้พร้อมใช้งานทุกครั้ง
ดูแลจัดท่าให้ผู้คลอดนอนราบ ตะแคงศีรษะ ให้ออกซิเจน 100%
สื่อสารกับผู้ที่เกี่ยวข้องและเตรียมช่วยคลอดอย่างเร่งด่วน
ประคับประคองด้านจิตใจของสามีครอบครัวและญาต
การบันทึกทางการพยาบาลที่ชัดเจน
ภาวะสายสะดือย้อย :star:
สาเหตุ :green_cross:
ด้านมารดา ได้แก่ มารดามีความดันโลหิตต่ า หรือช๊อคจากโรคหัวใจ มีภาวะซีดมารดามีภาวะเป็นกรด และมารดามีความดันโลหิตลดลงเมื่อเปลี่ยนท่าอย่างรวดเร็ว
ด้านมดลูก ได้แก่ มดลูกมีการหดรัดตัวที่รุนแรงมากผิดปกติ หรือเกิดจากการเสื่อมสภาพของหลอดเลือดบริเวณมดลูก (Vascular degeneration)
ด้านรก ได้แก่ หลอดเลือดที่บริเวณรกเสื่อมสภาพ หรือขาดเลือดไปเลี้ยง หรือมีการลอกตัวของรกก่อนก าหนด
ด้านสายสะดือ ได้แก่ สายสะดือถูกกดทับ หรือบิดเป็นเกลียว หรือเกิดการพับงอ
ด้านทารก ได้แก่ ทารกมีการติดเชื้อ พิการแต่ก าเนิด มีภาวะซีด หรือมีความผิดปกติเกี่ยวกับการไหลเวียนของเลือดในครรภ์แฝด
ผลกระทบ :no_entry:
ผลกระทบต่อมารดา :warning:
การเต้นของหัวใจที่ผิดปกติของทารกจะเพิ่มความเครียดและความวิตกกังวล
เกิดปัญหาด้านจิตสังคมในระยะคลอดที่มารดาอาจจะต้องเผชิญ
ผลกระทบต่อทารก :recycle:
การได้รับออกซิเจนไม่เพียงพอเป็นเวลานาน
ความพิการของสมอง
มีพัฒนาการช้ากว่าปกติ หรือเป็นเด็กปัญญาก่อนในเวลาต่อมา
อาการและอาการแสดง :checkered_flag:
มีขี้เทาปนออกมากับน้ำคร่ำในทากที่มีศีรษะเป็นส่วนนำ
มีการเปลี่ยนแปลงของการเต้นของหัวใจทารก
จากการตรวจ Fetal scalp blood sampling พบค่า pH ต่ำกว่า หรือเท่ากับ7.20 ซึ่งถือว่ามีภาวะ Acidosis
ทารกในครรภ์ดิ้นอย่างรุนแรงและมากขึ้น แสดงถึงภาวะ Acute fetal distressแต่ต่อมาทารกในครรภ์เริ่มดิ้นน้อยลง แสดงว่าเกิดภาวะ Chronic fetal distress
การรักษาเมื่อเกิดภาวะ Fetal :warning:
เปลี่ยนท่านอนของมารดา
ให้ Oxygen mask ในปริมาณ 6 – 10 ลิตร / นาที
บันทึกการเต้นของหัวใจทารกด้วยเครื่อง Monitor ตลอดเวลา
ในกรณีที่มารดาได้รับ Oxygocin ควรหยุดการให้ทันที
เจาะ Fetal scalp blood sampling เพื่อประเมินภาวะ Acidosis
ทำคลอดตามความเหมาะสม ถ้าปากมดลูกเปิดเต็มที่
นางสาวสุญญา พลเยี่ยม รหัสนักศึกษา 6027010104 นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 35