Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ :silhouettes:, นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม …
4.3 ภาวะฉุกเฉินทางสูติศาสตร์ :silhouettes:
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะมดลูกแตก (Uterine Rupture) :red_cross:
ความหมาย :warning:
การฉีกขาด การแยก การแตก หรือการทะลุของมดลูกขณะตั้งครรภ์ ขณะเจ็บครรภ์คลอด หรือขณะคลอด หลังจากที่ทารกโตพอที่จะมีชีวิตอยู่ได้ หรือหลังจากอายุครรภ์ ๒๘ สัปดาห์ ซึ่งไม่ นับการแตกของมดลูกที่ไม่ได้ตั้งครรภ
สาเหตุของมดลูกแตก :no_entry:
มดลูกแตกเอง เช่น CPD
มดลูกแตกจากการได้รับการกระทบกระเทือน
มดลูกแตกจากรอยแผลเดิม เช่น P/S
ชนิดของมดลูกแตก :recycle:
มดลูกแตกตลอดหมดหรือแตกชนิดสมบูรณ์
(complete uterine ruptured)
การฉีกขาดของมดลูกชั้นเยื่อบุมดลูก กล้ามเนื้อมดลูก แต่ไม่ทะลุชั้นเยื่อบุช่องท้อง ทารกยังคงอยู่ภายใน
โพรงมดลูก และส่วนมากมักมีชีวิตอย
มดลูกแตกบางส่วน
(incomplete uterine ruptured)
การฉีกขาดของ มดลูกทั้ง ๓ ชั้นของผนังมดลูก ทำให้เปิดต่อ
กับช่องท้อง ทารกจึงหลุดออกไปอยู่ในช่องท้องบางส่วนหรือทั้งหมด ส่วนใหญ่จะพบว่าทารกมีสภาพเสียชีวิต
อาการและอาการแสดง :<3:
ก่อนมดลูกแตก :no_entry:
. เจ็บปวดบริเวณท้องน้อยอย่างรุนแรง
กระสับกระส่าย PR เบาเร็ว RR ไม่สม่ำเสมอ
การคลอดไม่ก้าวหน้า ปากมดลูกไม่เปิดขยายต่อและส่วนน าของทารกไม่เคลื่อนต่ำลงมา PV
มองเห็นหน้าท้องเป็นสองลอนสูงขึ้นเกือบถึงระดับสะดือ (Bandl’s ring)
มีการหดรัดตัวถี่และรุนแรงของมดลูก (tetanic contraction)
ทารกในครรภ์เกิด fetal distress อาจพบ FHS ไม่สม่ำเสมอ
อาจมีเลือดออกทางช่องคลอด
เมื่อมดลูกแตกแล้ว :forbidden:
จ็บปวดบริเวณมดลูกส่วนล่างอย่างรุนแรง
คลำพบส่วนของทารกชัดเจนขึ้น
ถ้ามดลูกแตกขณะเจ็บครรภ์ อาการเจ็บครรภ์จะหายไปทันที
อาจพบว่ามีเลือดออกทางช่องคลอดจ านวนเล็กน้อย
ท้องโป่งตึงและปวดท้องอย่างรุนแรงจากเลือด น้ำคร่ำ และบางส่วนของทารกระคายเยื่อบุช่องท้อง
.FHS เปลี่ยนแปลงโดยอาจช้าหรือเร็ว หรือหายไป
PV พบส่วนนำลอยอยู่สูงขึ้นจากเดิม
มีภาวะ Hypovolemic shock
ผู้คลอดจะเจ็บบริเวณหน้าอก ร้าวไปถึงไหปลาร้าโดยเฉพาะเมื่อหายใจเข้า
ผลกระทบ :red_flag:
ผลกระทบต่อผู้คลอด
ผู้คลอดอาจมีอาการแสดงของการเสียเลือดจนช็อก หรือเจ็บบริเวณท้องมาก
อาจเกิดภาวะเยื่อบุช่องท้อง
อักเสบได้
ผู้คลอดจะมีความวิตกกังวลมาก เนื่องจากห่วงทารกในครรภ์และอาการของตนเอง
ผลกระทบต่อทารก
ทารกจะมีการขาดออกซิเจนอย่างรุนแรง
ได้รับบาดเจ็บจากการคลอดฉุกเฉินทั้งจากการผ่าตัดคลอดหรือใช้หัตถการช่วยคลอด
อาจเสียชีวิตได้ ถ้าการช่วยเหลือไม่เป็นไปอย่างรีบด่วน
กระบวนการพยาบาล :warning:
ก่อนมดลูกแตก :forbidden:
๑.ตรวจมดลูก พบ tetanic contraction หรือพบ Bandl’s ring ปวดท้องรุนแรง สัมผัสหน้าท้องไม่ได้
๒.ผู้คลอดมีท่าทางกระสับกระส่าย วัด V/S พบว่า PR เบาเร็ว RRไม่สม่ำเสมอ
๓.กดเจ็บบริเวณหน้าท้อง
๔. PV พบปากมดลูกอยู่สูงขั้นจากการถูกดึงรั้งขึ้นไป ปากมดลูกบวม หัวทารกเป็น caput succedaneum
๕. FHS ไม่สม่ำเสมอ
๖. อาจมีเลือดออกทางช่องคลอดหรือบางครั้งอาจไม่พบ
หลังมดลูกแตกแล้ว :warning:
๑. ผู้คลอดปวดท้องอย่างรุนแรง รู้สึกอึดอัดจากเลือด น้ำคร่ำและตัวเด็กระคายเคืองต่อเยื่อบุช่องท้อง ถ้ามดลูกแตกขณะเจ็บครรภ์ อาการเจ็บครรภ์จะหายไป
๒. คลำพบส่วนทารกชัดเจน
๓. ผู้คลอดบอกรู้สึกมีอะไรแยก
๔. บางรายมีเลือดออกทางช่องคลอดมาก ปัสสาวะเป็นเลือด
๕. FHS เปลี่ยนแปลงหรือหายไป
๖. PV พบส่วนนำลอยอยู่สูงกว่าเดิม
๗.มีภาวะ Hypovolemic shock
การพยาบาลเมื่อเกิดภาวะมดลูกแตก :<3:
๑. งดน้ำและอาหารทางปาก ดูแลให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำตามแผนการรักษาอย่างเพียงพอ ติดตามและ รายงานสูติแพทย์
๒. ประเมินสัญญาณชีพและเสียงหัวใจทารกทุก ๕ นาที
๓. ดูแลให้ได้รับออกซิเจนร้อยละ ๑๐๐
๔. ประเมินเลือดที่ออกทางช่องคลอด
๕. ประเมินอาการและอาการแสดงของการตกเลือดและอาการแสดงของภาวะช็อก
๖. ดูแลให้ได้รับเลือดทดแทนตามแผนการรักษา
มดลูกปลิ้น ( Uterine inversion) :star:
ภาวะที่มดลูกปลิ้นตลบเอาผนังด้านในออกมาอยู่ด้านนอกหรือโผล่ออกมาทางช่องคลอด :no_entry:
ชนิดของมดลูกปลิ้น :green_cross:
มดลูกปลิ้นแบบไม่สมบูรณ์ (Incomplete inversion) มดลูกปลิ้นโดยส่วนที่ปลิ้นยังไม่พ้นปาก มดลูก
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์ (complete inversion) มดลูกปลิ้นโดยส่วนที่ปลิ้นพ้นปากมดลูก
มดลูกปลิ้นแบบสมบูรณ์และเคลื่อนต่ำลงมานอกปากช่อง คลอด (Prolapsed of inverted uterus)
สาเหตุของมดลูกปลิ้น :red_flag:
มีพยาธิสภาพที่มดลูก
การทำคลอดรกไม่ถูกวิธี
รกเกาะแน่นแบบ Placenta accrete
สายสะดือสั้นจนดึงรั้ง
การเพิ่มแรงดันภายในช้องท้องอย่างรวดเร็วและรุนแรง
อาการและอาการแสดง :forbidden:
ยอดมดลูกเป็นแอ่งคล้ายปล่องภูเขาไฟ
ตรวจภายในจะคลำได้ก้อนเนื้อบริเวณปากมดลูกช่องคลอดหรือก้อนโผล่ออกมานอกช่องคลอด
จะมีอาการปวด ช็อก ตกเลือดทางช่องคลอดอย่างเฉียบพลัน และมีอาการปวดท้องอย่างรุนแรง
ในรายที่เรื้อรังผนังเยื่อบุมดลูกจะแห้ง และเป็นแผลทำให้เกิดตกขาว เลือดออกกะปริบกะปรอย อาจมี อาการปวดหลังถึงอุ้งเชิงกราน และถ่ายปัสสาวะขัดหรือรู้สึกถ่วงที่ช่องคลอด
การพยาบาล :<3:
ป้องกันการเกิดมดลูกปลิ้น โดยทำคลอดอย่างระมัดระวังและถูกวิธี
ประเมินชนิดของมดลูกปลิ้นอย่างรวดเร็ว
การช่วยเหลือเพื่อป้องกันภาวะ shock เมื่อเกิดภาวะมดลูกปลิ้น
ประเมินความรู้สึกตัว
ให้สารน้ำ
Vital signs ทุก 5-15 นาที
ดูแลให้ยากระตุ้นการหดรัดตัวของมดลูกเมื่อดันมดลูกกลับ
ถ้า manual reinversionไม่สำเร็จเตรียมผู้ป่วยเพื่อผ่าตัด
เตรียม CPR เมื่อเกิดภาวะ shock
ให้ทบทวนหาสาเหตุเพื่อวางแผนป้องกันการเกิดในผู้คลอดราย ต่อๆไป
ภาวะรกค้าง รกติด :red_flag:
รกค้าง ( retained placenta) หมายถึง ภาวะที่รกไม่ลอกตัว หรือคลอด ออกมาภายใน 30 นาที หลังทารกคลอด :warning:
รกติด ( placenta accreta) หมายถึง ภาวะที่รกมีการฝังตัวลึกกว่าชั้นปกติ แต่ในรายที่การฝังตัวผิดปกติ รกอาจจะฝังตัวลึกถึงชั้นกล้ามเนื้อมดลูก ทำให้ไม่สามารถคลอดรกได้ :red_flag:
ชนิดของรก :recycle:
placenta accrete
placenta increta
placenta percreta
ปัจจัยเสี่ยง :recycle:
มารดาอายุมาก
ตั้งครรภ์ หลายครั้ง
เคยมีรกติดแน่นในครรภ์ก่อน
ผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องหลายครั้ง
รกเกาะต่ำ
เคยมีแผลผ่าตัดที่ ตัวมดลูกหรือเคยขูด มดลูกมาก่อน
อาการและอาการแสดง :red_cross:
1 ไม่มีอาการแสดงของรกลอกตัว หรือมีเพียงเล็กน้อยไม่ชัดเจนระยะหลังคลอดรกนาน 30 นาที
2 มดลูกหดรัดตัวไม่ดีหลังคลอด
3 มีเลือดออกทางช่องคลอดจำนวนมากภายหลังคลอด
4 ตรวจพบว่ามีบางส่วนของเนื้อรกหรือ membrane ขาดหายไป
5 มารดามีอาการ กระสับกระส่าย ชีพจรเบาเร็ว ตัวเย็นซีด เหงื่อออก ความดันโลหิตลดต่ำลง ระดับความรู้สึกตัวลดลง ซึ่งเป็นอาการช็อค
แนวทางการรักษา :no_entry:
รกไม่คลอดนาน 30 นาที พิจารณาให้ oxytocin 10 ยูนิต
ทำ controlled cord traction
การพยาบาล :star:
ภายหลังล้วงรก ประเมินการหดรัดตัวของมดลูกจำนวนเลือดออก และสัญญาณชีพ เพื่อประเมินภาวะตกเลือดหลังคลอดในระยะแรก และดูแลกระเพาะปัสสาวะให้ว่าง
ติดตามประเมินการติดเชื้อ และภาวะตกเลือดในระยะหลังคลอด ประเมินระดับยอดมดลูกลักษณะน้ำคาวปลา ติดตามสัญญาณชีพ
นางสาวสุกัญญา พลเยี่ยม รหัสนักศึกษา 6027010104 นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 รุ่นที่ 35