Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind - Coggle Diagram
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind
ภูมิหลังเกี่ยวกับสาเหตุของการเกิดโรค
เห็นเหตุการณ์ต่างๆและคิดออกมาเป็นสมการคณิตศาสตร์
เพื่อนชอบแกล้ง
ต้องการเป็นบุคคลที่ทุกคนยอมรับ
ไม่ชอบระบายหรือพูดกับบุคคลในครอบครัว
ไม่มีเพื่อนสนิท
มีพฤติกรรมที่ผิดปกติ
มีปัญหาในการปรับตัว ชอบอยู่คนเดียว
ชอบทําอะไรด้วยตนเอง
ประวัติทั่วไป
ประวัติครอบครัว
ภรรยาชื่อนางอลิเซีย (Mrs. Alicia)และมีลูกชาย 1 คน
ผู้ป่วยเป็นลูกชายคนเดียวของครอบครัว
มีน้องสาว 1 คน
บิดาเป็นวิศวกร มารดาเป็นครูสอนภาษา
ข้อมูลส่วนตัว
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
พระราชบัญญัติสุขภาพจิตเเละจิตเวช พศ 2551
มาตราที่ 24
ผู้ใดพบบุคคลซึงมีพฤติการณ์ทีน่าเชื่อว่า บุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิตคือมีภาวะอันตรายหรือมีความจําเป็นต้องได้รับการบําบัดรักษาให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่หรือตํารวจโดยเร็ว
มาตรา 25
ผู้รับผิดชอบดูแลสถานคุมขัง สถานสงเคราะห์ พนักงานคุมประพฤติถ้าพบบุคคลที่อยู่ในความดูแลมีพฤติการณ์ที่น่าเชื่อว่า บุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิตให้ส่งตัวบุคคลผู้นั้นไปสถานพยาบาลโดยเร็ว
มาตรา 26
ในกรณีฉุกเฉิน เมื่อพนักงานเจ้าหน้าที่พนักงานฝ่ายปกครองหรือตํารวจได้รับแจ้งตามมาตรา ๒๓
หรือพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์อันน่าเชื่อว่าบุคคลนั้นเป็นบุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตซึ่งมีภาวะอันตรายและเป็นอันตรายทีใกล้จะถึงให้มีอำนาจนําตัวบุคคลนั้นหรือเข้าไปในสถานที่ใดๆ เพื่อนําตัวบุคคลนั้นส่งสถานพยาบาลของรัฐหรือสถานบําบัดรักษาซึ่งอยู่ใกล้โดยไม่ชักช้าเพื่อรับการตรวจวินิจฉัย
มาตรา 23
ผู้ใดพบบุคคลซึ่งมีพฤติการณ์ที่น่าเชื่อว่าบุคคลนั้นมีความผิดปกติทางจิต คือมีภาวะอันตรายหรือมีความจําเป็นต้องได้รับการบําบัดรักษาให้แจ้งต่อพนักงานเจ้าหน้าที่ หรือ ตํารวจโดยเร็ว
มาตราที่18
การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า (Electroconvulsive Therapy, ECT)ให้กระทําได้ในกรณีที่ผู้ป่วยให้ความยินยอมเป็นลายลักษณ์อักษรและต้องรับทราบถึงเหตุผลความจําเป็น ความเสียง ภาวะแทรกซ้อน ประโยชน์ของการบําบัดแต่ในกรณีมีเหตุฉุกเฉินหรือมีความจําเป็นการรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้าต้องได้รับความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมการสถานบําบัดรักษา ส่วนการให้ความยินยอมเพื่อรับการรักษา ในกรณีที่ผู้ป่วยมีอายุไม่ถึง ๑๘ ปีบริบูรณ์หรือขาดความสามารถในการตัดสินใจให้ความยินยอมรับการบําบัดรักษา เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการทางจิตหรือผู้บกพร่องทางพัฒนาการหรือสติปัญญา ให้คู่สมรส บุพการี ผู้สืบสันดาน ผู้ปกครอง ผู้พิทักษ์ ผู้อนบุาล เป็นผู้ให้ความยินยอมแทน
ที่มา ชดาพิมพ์ เผ่าสวัสดิ> สาระสําคัญพระราชบัญญัติสุขภาพจิตพศ 2551.สืบค้นวันที่ 24 มิถุนายน 2563.ทีมาwww.rajanukul.go.th
คาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
การวินิจฉัย
Catatonic type
มีความผิดปกติด้านการเคลื่อนไหว
Disorganizzed type
มีความคิดกระจัดกระจายไม่เป็นไปในแนาเดี๋ยวกัน แสดงออกมาท่าทางหรือคำพูด
Paranoid type
มีความคิดหมกหมุน อาการหลงผิดหรือหูเว่ว
Undifferentiated type
ผู้ป่วยมีอาการเข้ากับโรคจิตเภท
Residual type
ผู้ป่วยมีอาการกำเริบชัดเจนอย่างน้อย 1 ครั้ง
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
มีบุคคลไล่ล่าต้องการชีวิตเขา
ด้านอารมณ์
แววตาหวาดระแวง
สีหน้าวิตกกังวล
ไม่สามารถเข้ากับบุคคลรอบข้างได้
มีอาการคล้ายประสาทหลอน
เขาเห็นบุคคลที่ไม่มีชีวิตอยู่จริง
ได้ยินเสียงแว่ว
คิดว่าตนได้รับภารกิจในการเป็นสายลับ
บุคคลิกภาพ
นั่งกุมมือและบีบมือตัวเอง
มองซ้ายขวาเกือบตลอดเวลา
เดินหลังค่อม
ก้มหน้าเป็นส่วนใหญ่
ความคิดหลงผิดกับภาพหลุอน
ภาพหลอน (Hallucination)
อาการประสาทหลอนเกิดขึ้นได้จากการรับรู้ทั้งในด้าน รูปรสกลิ่น เสียง และสัมผัส เช่น หูแว่วภาพหลอน รู้สึกว่ามีอะไรมาชอนไชผิวหนั่งสิ่งนี้อาจเกิดขึ้นในชีวิตประจำวัน เช่นเห็นคนมาพูดคุยด้วย
ความคิดหลงผิด ( Delusion)
ประเภทของโรคจิตหลงผิด
4 ประเภท
มีการหลงผิดตั้งแต่ 1 เรื่อง นานเกิน 1 เดือนอาการหลงผิดที่พบบ่อยที่สุด คือระเวงว่าตนถูกปองร้ายผูกเรื่องเชื่อมโยงในทางเดียวกัน
หลงผิดว่าผู้อื่นมารักตนเองโดยจะเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง (Erotomic Type)
ยั่งรู้หรือพิเศษกว่าผู้อื่น( Grandiose Type)
หลงผิดว่าคู่ครองนอกใจตนเอง (Jealous Type)
รอยตาม หมายเอาชีวิต (Persecutory Type)
การรักษา
ECT
เป็นการรักษาโดยใช้กระแสไฟฟ้าสลับ 70-150 voltผ่านแผ่นอิเล็กโกรด(Electrodes)
เข้าสู่สมองของผู้ปวยซึ่งจะวางได้ 2 แบบคือ bilateralโดยการวางขั้วไฟฟ้ทั้ง 2 ข้างและแบบ Unilateral
วางขั้ไฟฟ้าที่ขมับข้างเดียวกันที่บริเวณขมับ Fronto-temporalผ่านสมองประมาณ 0.1-0.5 วินาที
เพื่อทำให้ผู้ป่วยเกิดอาก๊ารชักทั้งตัวแบบเกร็งและกระตุก(grandmal) การทำครั้งแรกมักจะเริ่มด้วยกระแสไฟฟ้ 80โวลท์เละปล่อยให้กระแสผ่าน 0.2 วินาที่ ถ้าไม่ชักก็เพิ่มเป็น 90หรือ 100โวลท์ และเพิ่มเวลาขึ้นด้วย ถ้าเพิ่มกระแสไฟฟ้าและ/หรือเวลาแล้วผู้ป่วยุยังไม่ชัก เราก็มักไม่พยายามต่อไปควรทำใหม่ในวันรุ่งขึ้นเมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้ผ่านสมองผู้ป่วยจะหมดสติทันที
การพยาบาล
การเตรียมผู้ป่วยด้านจิตใจ
ประเมินความวิตกกังวลการเตรียมผู้ป่วยด้านจิตใจอธิบายถึงความจำเป็นและข้อดีในกาารักษาด้วยไฟฟ้า
การเตรียมผู้ป่วยด้านร่างกาย
งดน้ำงดอาหารหลังเที่ยงคืนการเตรียมผู้ป่วยด้านร่างกายตรวจวัดสัญญาณชีพ ถอดฟันปูลอม สิ่งของมีค่าใส่เสื้อผ้าของโรงพยาบาล จิบน้ำแค่พอกลืนยา
การพยาบาลขณะทำการรักษาด้วยไฟฟ้า
จัดท่านอนให้อยู่ในท่านอนหงายราบบนเตียงบันทึกอัตราการ์เต้นของหัวใจและความดันโลหิต คาดแผ่น electrodeที่ขมับใส่แผ่นยางในปากเพื่อป้องกันการอุดตันหางเดินหายใจและเกิดแผลในปาก
การพยาบาลผู้ป่วยหลังการรักษาด้วยไฟฟ้า
เมื่อผู้ปวยเริ่มพื้นและรู้สึกตัวและหายใจได้เองแล้วย้ายผู้ป่วยไปห้องพักพื้นหลังจากการทำการรักษาตรวจวัดสัญญาณชีพ การหายใจการสำลักเส้มหะน้ำลาย ดูแลทำความสะอาดร่างกายเหมือนกับผู้ป่วยหลังผ่าตัดทั่วไป อาจมีอาการสับสนระวังอุบัติหตุตกเตียง ฝ้าระว้อการคลื่นไส้ อาเจียนปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อพร้อมบันทึกอาการและอาการเปลี่ยนแปลงของผู้ป่วย
ผลข้างเคียงของการรักษา
ผู้ปวยได้รับการรักษาด้วย Insulin Shock Therapyอาจมีภาวะ shockผลข้างเคียงของการรักษาจนทำให้เกิดหัวใจหยุดเต้นและอาจมีอาการ comaเนื่องจากภาวะน้ำตาลต่ำ
ไร้สมรรถภาพทางเพศ
ความคิดเชื่องช้า
อาจถึงขั้นบกพร่องในการทำกิจวัตรประจำวัน
นางสาวศุภลักษณ์ โพธิ์ไทย เลขที่ 79 รหัส 613601085 ห้อง 2A