Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง, image, image - Coggle…
ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับการดูแลสุขภาพผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
ความหมาย
ความรู้ของคนในท้องถิ่นซึ่งได้มา จากประสบการณ์และความริเริ่มของคนในท้องถิ่นเป็นทั้งความรู้ที่สั่งสมมาแต่บรรพบุรุษสืบทอดจากรุ่นสู่รุ่น ระหว่างการสืบทอดมีการปรับประยุกต์และเปลี่ยนแปลงพัฒนา ซึ่งมีการสูญสลายหายไปบ้างและความรู้ ความสามารถเพื่อใช้ในการแก้ปัญหาและเป็นแนวปฏิบัติในการดำรงชีวิตให้สอดคล้องกับสภาพสังคมที่ เปลี่ยนไปในแต่ละยุคแต่ละสมัยเกิดเป็นความรู้ใหม่ตามยุคสมัยหรืออาจกล่าวได้ว่าภูมิปัญญาท้องถิ่นเป็นการใช้ ภูมิปัญญาหรือความรู้ในท้องถิ่นเพื่อการพัฒนาท้องถิ่นซึ่งเป็นความรู้ชุดใหม่ซึ่งมีวัฎจักรในการเกิดขึ้นพัฒนา และเกิดองค์ความรู้ใหม่อยู่เรื่อย ๆ
ลักษณะสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น
เป็นเรื่องของการใช้ความรู้ทักษะความเชื่อและพฤติกรรม
แสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างคนกับคนคนกับธรรมชาติคนกับสิ่งเหนือธรรมชาต
เป็นเรื่องของการแก้ไขปัญหาการจัดการการปรับตัวการเรียนรู้เพื่อความอยู่รอดของบุคคลชุมชน
และสังคม
มีลักษณะเฉพาะหรือมีเอกลักษณ์ในตัวเอง
เป็นแกนหลักหรือกระบวนทัศน์ในการมองชีวิตเป็นพื้นความรู้ในเรื่องต่างๆ
มีการเปลี่ยนแปลงเพื่อการปรับสมดุลในพัฒนาการทางสังคมตลอดเวลา
เป็นองค์รวมหรือกิจกรรมทุกอย่างในวิถีชีวิต
มีการบูรณาการสูง
มีวัฒนธรรมเป็นฐานไม่ใช่วิทยาศาสตร์
ีความเชื่อมโยงไปสู่นามธรรมที่ลึกซึ้งสูงส่ง
เน้นความสำคัญของจริยธรรมมากกว่าวัตถุธรรม12
ลักษณะสำคัญของภูมิปัญญาท้องถิ่น
มีลักษณะเป็นพลวัต
เป็นองค์ความรู้ที่มีการสั่งสมและถ่ายทอดกันมาอย่างเป็นระบบ
ประเภทของภูมิปัญญาท้องถิ่น
หมวดที่ 3 ศิลปกรรมและโบราณคดี
หมวดที่ 4 การละเล่นดนตรีและการพักผ่อนหย่อนใจ
หมวดที่ 2 ภาษาและวรรณกรรม
หมวดที่ 5 ชีวิตความเป็นอยู่และวิทยาการห
หมวดที่ 1 ขนบธรรมเนียมประเพณีความเชื่อและศาสนาหมาย
การนำไปใช้
การดูแลผู้ป่วยโรคเบาหวานและ
โรคความดันโลหิตสูง
การออกกำลังกายโดยใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นสำหรับผู้ป่วยโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
การออกกำลังกายจะช่วยทำให้มีการยืด เหยียดกล้ามเนื้อมัดใหญ่อย่างต่อเนื่องส่งผลให้มีอัตราการเต้นของหัวใจเป้าหมาย (target heart rate) เพิ่มขึ้น ร้อยละ 40-50 ซึ่งช่วยให้หัวใจและปอดทำงานดีขึ้น ทำให้การสูบฉีดโลหิตมีประสิทธิภาพมีการไหลเวียนเลือดดี กระตุ้นการทำงานของประสาทซิมพาเทติค และพาราซิมพาเทติคซึ่งมีผลดีหลอดเลือด คือ มีความยืดหยุ่นดีขึ้น นอกจากนั้นยังช่วยให้ระดับเอชดีแอลโคเลสเตอรอลในเลือดเพิ่มขึ้น และลดการสูญเสียเซลล์ที่บุผนังหลอด เลือด จากการเพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปยังกล้ามเนื้อที่ทำงานส่งผลให้เกิดแรงเฉือนบริเวณผนังหลอดเลือด กระตุ้นให้มีการผลิตไนตริกออกไซด์เพิ่มขึ้น อันนำไปสู่การขยายตัวของหลอดเลือดเพิ่มขึ้น ช่วยทำให้ระดับ น้ำตาลหลังอาหารและไกลโคซีเลทฮีโมโกลบินลดลง ความดันโลหิตและอัตราการเต้นของหัวใจขณะพักลดลง ทำให้ช่วยลดระดับความดันโลหิต
ประเภทการออกกำลังกาย
การออกกำลังกายแบบใช้ออกซิเจน
รำไม้พลอง
การนำศิลปะการรำพื้นบ้าน หรือเพลงพื้นบ้านมาประยุกต์ใช้ประกอบจังหวะ
การออกกำลังกายแบบไม่ใช้ออกซิเจน
สมาธิบำบัดกับการบำบัด
การเดินสมาธิหรือเดินจงกรม
การสวดมนต์กับการบำบัด
การประยุกต์เพลงพื้นบ้านกับการบำบัด
การนวดกดจุดฝ่าเท้า การนวดเท้าด้วยวัสดุพื้นบ้าน การแช่เท้าด้วยน้ำสมุนไพรกับการบำบัดอาการเท้าชาในผู้ป่วยโรคาหวาน เพื่อช่วยกระตุ้นการไหลเวียนของเลือดมาเลี้ยงฝ่าเท้า
การแช่เท้าด้วยน้ำสมุนไพรกับการบำบัดอาการชาเท้าในผู้ป่วยโรคเบาหวานจะช่วยเร่งขับพิษออกจากร่างกาย
การดูแลผู้ป่วยข้อเข่าเสื่อม
การบริหารร่างกายด้วยท่าฤาษีดัดตนร่วมกับการนวดแผนไทยเพื่อลดอาการ
ปวดข้อเข่า
การป้องกันการหกล้มในผู้สูงอายุ
มีการนำภูมิปัญญาท้องถิ่นและทางเลือกอื่นมาใช้ในการออกกำลังกายเพื่อเพิ่มสมรรถภาพร่างกาย ด้านการทรงตัว ได้แก่ การรำไม้พลองแบบป้าบุญมี การรำวง การฟ้อนรำ การรำมวยไทย และทาเงเลือก อื่นๆ เช่น การรำมวยจีน การรำไทจี๋ การเดินตาราง 9 ช่อง รำลีลาศ เป็นต้น
กระบวนการอนุรักษ์ทุนภูมิปัญญาท้องถิ่น :
4) การพัฒนาควรริเริ่มสร้างสรรค์และปรับปรุงภูมิปัญญาให้เหมาะสมกับยุคสมัย
5) การถ่ายทอดโดยการนำภูมิปัญญาที่ผ่านการเลือกสรรกลั่นกรอง
3) การฟื้นฟูโดยการเลือกสรรภูมิปัญญาที่กำลังจะสูญหาย
6) การส่งเสริมกิจกรรมโดยการส่งเสริมและสนับสนุนให้เกิดเครือข่ายการสืบสาน
2) การอนุรักษ์กระทำโดยการปลุกจิตสำนึกให้คนในท้องถิ่น
7) การเสริมสร้างเอตทัคคะ
1) การค้นคว้าวิจัยควรศึกษาและเก็บรวบรวมข้อมูล
8) การเผยแพร่แลกเปลี่ยน