Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
Statistical Process Control and Process Capability Study OEM-Inc-Value…
Statistical Process Control and Process Capability Study
ความเข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับ SPC
ข้อกำหนด
การระบุเครื่องมือทางสถิติ
กราประยุกต์ใช้หลักทางสถิติ
การเฝ้าติดตาม และตรวจวัดกระบวนการผลิต
ตัวอย่างการชี้บ่งเครื่องมือทางสถิติ
จัดซื้อ
Histrogram and statification
Pareto fault analysis
Dessciptive analysis
การสอบเทียบ
Statistical toterancing
SPC
Measurement system analysis
การออกแบบและการพัฒนา
Hypothesis testing
Regession analysis
Design of experiment
ลำดับขั้นการประยุกต์ SPC
0 ไม่มีกิจกรรม
1 กำหนดผู้นำและทีมงาน SPC
2 ชี้บ่งคุณลักษณะที่จะควบคุม
3 กำหนดคุณลักษณะที่จะควบคุม ระบบการวัด ผังควบคุมที่ใช้
4 สร้างและวิเคราะห์ระบบการวัด
5 กำหนดขั้นตอนและวิธีการปฎิบัติ
6 ฝึกอบรมพนักงานที่เกี่ยวข้องตาม ข้อที่ 3-5
7 นำไปปฎิบัติ
8 คงการปฎิบัติต่อเนื่อง
9 กำหนดการตรวจติดตาม
ทีมงาน SPC
หัวหน้าทีม
Quality Manager
สมาชิก
Production Supervisor
Quality Supervisor
Inspector
Production Operator
การวิเคราะห์ระบบการวัด
Data type
Variable data
Focus
Precision
Gauge R&R Study
5 คำนวณหาค่าเฉลี่ยจากการวัดของชิ้นงานแต่ละชิ้นจากการวัดทุกครั้งของทุกคน
6 คำนวณค่าความแตกต่างสูงสุดของค่าเฉลี่ย
4 คำนวณค่าเฉลี่ยและพิสัยของพนักงานแต่ละคน
7 คำนวณค่า GRR
3 คำนวณค่าเฉลี่ย และค่าพิสัยของข้อมูล
8 คำนวณค่าความผันแปรรวม
2 เลือกพนักงาน 2 หรือ 3 คน และให้พนักงานแต่ละคนวัดชิ้นงานทุกชิ้น
9 การแปลผลที่ไ้ด พิจารณา %GRR
1 เลือกชิ้นงานตัวอย่างจำนวนมากกว่า 5 ชิ้นขึ้นไป
10 ผลจากตัวอย่าง
Accuracy
Bias Study
Gauge Linearity
Stability
Attribute data
Attribute Agreement Analysis
การควบคุมกระบวนการในเชิงสถิติ
ทำไมต้องมีการควบคุมกระบวนการ
เพื่อติดตามและป้องกัน หลีกเลี่ยงของเสีย
การปฎิบัติการแก้ไขในกระบวนการ
การปฎิบัติการแก้ไขเฉพาะแห่ง
โดยปกติการจัดการโดยคนและกระบวนการ
สามารถขจัดปัญหาได้ประมาณ 15%
โดยปกติเป็นการขจัดความผันแปรที่มีสาเหตุไม่ปกติ
การปฎิบัติการแก้ไขกับระบบ
โดยปกติการจัดการโดยระบบบริหารเพื่อแก้ไข
สามารถขจัดปัญหาได้ประมาณ 85%
โดยปกติเป็นการขจัดความผันแปรที่มีสาเหตุปกติ
นิยามค่าทางสถิติ
ตัวแทนค่ากลาง
ค่าเฉลี่ย
มัธยฐาน
ค่าแสดงการกระจายตัว
พิสัย
พิสัยเคลื่อนที่
ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ชนิดของแผนภูมิ
แผนภูมิควบคุมแบบข้อมูลต่อเนื่อง
แผนภูมิควบคุมแบบข้อมูลไม่ต่อเนื่อง
แผนภูมิควบคุม Control Chart
หน้าที่
บ่งชี้สาเหตุของความผันแปร
แบบไม่ปกติ
แบบปกติ
การควบคุมกระบวนการเชิงสถิติ
แผนภูมิควบคุมแบบข้อมูลต่อเนื่อง
แผนภูมิ X-bar - S
เมื่อมีขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ตั้งแต่ 10 ขึ้นไป
เมื่อชิ้นงานผลิตภายใต้สภาวะเดียวกันในช่วงระยะเวลาที่ใกล้เคียงกัน
เมื่อเครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้วัดมีขีดความสามารถในการบันทึก
แผนภูมิมัธยฐาน X median - R
เมื่อต้องการวิธีการควบตุมกระบวนการผลิตอย่างง่ายๆ
เมื่อมีขนาดกลุ่มข้อมูลคงที่
เมื่อมีการบันทึกข้อมูลที่ได้จาการวัด
เมื่อชิ้นงานผลิตภายในสภาวะเดียวกัน
แผนภูมิ X-bar - R
เมื่อมีขนาดของกลุ่มตัวอย่าง ระหว่าง 2 ถึง 9
เมื่อชิ้นงานผลิตภายในสภาวะเดียวกัน
เมื่อมีการวัดข้อมูลแบบต่อเนื่อง
แผนภูมิ X- MR
เมื่อจำเป็นต้องควบคุมกระบวนการผลิตที่มีค่าที่ยวัดได้จากตัวอย่างเพียง 1 ตัวอย่าง
แผนภูมิควบคุมแบบข้อมูลไม่ต่อเนื่อง
แผนภูมิ np
เมื่อต้องการทราบจำนวนของเสีนในกลุ่มที่นำมาตรวจสอบ
เมื่อขนาดของจำนวนตัวอย่างเท่ากัน
เมื่อข้อมูลเป็นข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง
แผนภูมิ c
ตรวจสอบและนับจำนวนข้อบกพร่อง
บันทึกค่าของจำนวนข้อบกพร่องบนแผนภูมิ c
กำหนดความถี่ในการตรวจสอบ
เขียนกราฟจำนวนข้อบกพร่องบนแผนภูมิ c
กำหนดขนาดของตัวอย่าง
แผนภูมิ p
เมื่อต้องพิจารณาค่าสัดส่วนของเสียในกลุ่มที่นำมาตรวจสอบ
ใช้ได้กับกลุ่มตัวอย่างที่มีขนาดตัวอย่างเท่ากันหรือไม่ก็ได้
เมื่อข้อมูลเป็นข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง
แผนภูมิ u
เมื่อข้อบกพร่องนั้นมีโแกาสเกิดขึ้น
เมื่อขนาดของจำนวนตัวอย่างไม่จำเป็นต้องเท่ากัน
เมื่อข้อมูลเป็นข้อมูลแบบไม่ต่อเนื่อง
นาย สมประสงค์ โคลนกระโทก B6004477