Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 14 การช่วยเหลือเบื้องต้นในเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ - Coggle…
บทที่ 14 การช่วยเหลือเบื้องต้นในเด็กที่ได้รับอุบัติเหตุและสารพิษ
สารพิษ
กลุ่มสารตะกั่ว
นํ้ามันเบนซิน สีทาของเล่น ถ่านไฟฉาย แบตเตอรี่รถยนต์ สีย้อมผ้า นํ้ายาเคลือบเงา
ผลต่อร่างกาย
ระบบโลหิต: ขัดขวางการสร้าง hemoglobin เม็ดเลือดแดงแตกง่าย มีภาวะซีด ภาวะพร่องออกซิเจน
ระบบประสาท: ทำลายเซลล์สมองทำให้เยื้อสมองบวมปวดศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ชัก เดินเซ ไม่รู้สึกตัวปลายเท้าตก (foot drop) ข้อมือตก (wrist drop) ปัญญาอ่อน
ไต: ดูดกลับฟอสเฟต กรดอะมิโน กรดยูริค ไตอักเสบ เรื้อรัง ไตวาย
ระบบทางเดินอาหาร: ปวดท้องรุนแรง ตับอักเสบ
หัวใจ: กล้ามเนื้อหัวใจอักเสบ หัวใจเต้นผิดปกติ
ระบบสืบพันธ์ : เป็นหมัน
ระบบกระดูกและกล้ามเนื้อ : ปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ โรคกระดูกอ่อน(Rickets) ข้ออักเสบ
ระบบอื่นๆ: หญิงตั้งครรภ์มีความดันโลหิตสูง
อาการและอาการแสดงแบ่งตามระดับสารตะกั่วในเลือด
มากกว่า 10 ไมโครกรัม/เดซิลิตร สมองช้า การสร้างฮีมลดลง
มากกว่า 40 ไมโครกรัม/เดซิลิตร มีภาวะซีดปวดท้องรุนแรง
มากกว่า 100 ไมโครกรัม/เดซิลิตร
ชัก ปัญญาอ่อน อัมพาต ตาบอด หมดสติ และเสียชีวิตได้
การรักษา
1.ให้ยา succimer ตามแผนการรักษาเพื่อขับสารตะกั่วสังเกตอาการข้างเคียง คือ คลื่นไส้ อาเจียน มีผื่น
2.ดูแลให้ packed red cell ตามแผนการรักษาบันทึกV/S ทุก 1 ชั่วโมงเพื่อประเมินภาวะแทรกซ้อน
3.ดูแลทานอาหารโปรตีนสูง เช่น เนื้อสัตว์ นม ไข่
และอาหารที่มีธาตุเหล็กสูง เช่น ไข่แดง ตับ เป็นต้น เพื่อเสริมสร้างเม็ดเลือดแดง
ติดตามประเมินภาวะซีดโดยการตรวจผิวหนัง เยื่อบุตา และหาระดับฮีมาโตคริต
ติดตามการตรวจหาระดับสารตะกั่วในเลือดเพื่อรักษาอย่างต่อเนื่อง
กลุ่มสารกัดกร่อน
พยาธิสรีรภาพ
ถ้ารับประทานทำลายเนื้อเยื่อทางเดินอาหาร
อักเสบบวมแดง เป็นผังผืด หลอดอาหารตีบแคบ
น้ำลายไหล กลืนลำบาก เจ็บคอ หลอดอาหาร/ลำไส้ทะลุ เยื่อบุช่องท้องอักเสบ สำลักเข้าสู่ทางเดินหายใจ เสียงแหบหรือไม่มีเสียง หายใจมีเสียงดัง หายใจลำบาก
ถ้าถูกผิวหนัง
ผิวหนังถูกทำลาย ปวดแสบปวดร้อน
ผิวหนังแดง พอง
ลอกหลุดเป็นแผล
ถ้าเข้าตา
ถ้าเข้าตา ตาอักเสบบวมแดง กระจกตาเป็นแผล
การรักษา
2.ดูแลให้ยาลดกรด เช่น milk of magnesia
1.ผู้ป่วยรู้สึกตัวดีให้ดื่มนํ้า และนมประมาณ 1 แก้ว เพื่อเจือจางสารกัดกร่อน
3.ดูแลให้เพรตนิโซโลน 2 มิลลิกรัม/กิโลกรัม/วัน ตามแผนการรักษาเพื่อลดการอักเสบบวมของเนื้อเยื่อที่ถูกทำลาย
ห้ามกระตุ้น/ทำให้อาเจียน
นํ้ายาล้างห้องนํ้า นํ้ายาฟอกผ้าขาว
กลุ่มทำความสะอาด
เสื้อผ้าและร่างกาย
พยาธิสรีรภาพ
ผงซักฟอก/น้ำยาล้างจาน: คลื่นไส้ อาเจียน
นํ้ายาซักแห้ง: ไตวาย ตับวาย สมองอักเสบ
สบู่:กระตุ้นระบบประสาท Electrolyte imbalance ระคายเคื่องต่อเยื่อบุทางเดินอาหาร ระคายเคืองเยื่อบุตา
การรักษา
ถ้ารับประทาน
น้ำยาซักแห้ง ทำให้อาเจียน ส่งรพ.
ผงซักฟอก สบู่ ไม่ทำให้อาเจียน
ถ้ากระเด็นเข้าตาล้างด้วยน้ำสะอาด
กลุ่มไฮโดรคาร์บอน
อาการและอาการแสดง
รับประทาน : เจ็บแสบคอ ปวดศท้องเสีย สำลักง่าย ปอดอักเสบ ซึ่งจะมีอาการหายใจเร็ว เหนื่อยหอบ เขียว และมีไข้ตํ่า ๆ
สูดดม : เคลิ้มเป็นสุข ต่อมาจะอ่อนเพลีย ไม่มีแรง
วิงเวียน กระสับกระส่าย หงุดหงิด ซึม ถ้าเป็นมากอาจชัก หมดสติ
หกราดผิวหนัง: เจ็บแสบผิวหนัง
การรักษา
เบื้องต้น
ถ้ารับประทาน ห้ามทำให้อาเจียน/ล้างกระเพาะอาหาร อาจสำลักเข้าปอด
ถ้าหกราดผิวหนัง ล้างด้วยนํ้าสบู่หลาย ๆ ครั้ง
อาการเล็กน้อยดูแลใกล้ชิด
ให้รับประทานถ่านบริสุทธิ์ เพื่อจับนํ้ามันก๊าด
ให้ออกซิเจน ถ้าเด็กเหนื่อยหอบ และหายใจลำบาก
ให้สารนํ้าทางหลอดเลือดดำ
ให้ยาปฏิชีวนะ เมื่อพบอาการของการติดเชื้อร่วมด้วย
พิจารณาใส่ท่อหลอดลมคอ ถ้าเด็กมีอาการชัก หมดสติ การหายใจไม่ดี มีภาวะขาดออกซิเจน
กลุ่มยาฆ่าแมลง/สารเคมีกำจัดวัชพืช
สารเคมีกำจัดแมลง
Organophosphates ,carbamates
ดุดซึมทางผิวหนัง ทางเดินอาหาร และปอดได้ดี กระจายไปส่วนต่างๆพบมากที่ตับ ทำให้ AChE เกิน
แบ่งตามชนิด Receptor
muscarinic receptor มีอาการนํ้าลายไหล นํ้าตาไหล เหงื่อออกมาก ปัสสาวะราด ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้องรุนแรง มีเสมหะในหลอดลมเพิ่มมากขึ้น หลอดลมตีบ ฟังปอดได้เสียงวี๊ด หัวใจเต้นช้าความดันโลหิตตํ่าลง และม่านตาหดเล็ก
nicotinic receptor กล้ามเนื้ออ่อนแรง โดยเฉพาะกล้ามเนื้อช่วยในการหายใจ มีอาการหายใจลำบาก กล้ามเนื้อกระตุก สั่น มีอาการชัก หัวใจเต้นเร็ว และความดันโลหิตสูง
ระบบประสาท จะมีอาการตื่นเต้น กระวนกระวาย นอนไม่หลับ สับสน ฝันร้าย ปวดศรีษะ เดินเซ อารมณ์แปรปรวน พูดไม่ชัด ชัก และหมดสติ
การรักษา
ทำความสะอาดร่างกายด้วยสบู่ สระผม
ใน 1 ชั่วโมงทำ gastric larvage และให้ Activated charcoal single dose
Organophosphates ยาต้านพิษ atropine sulphate และ 2-PAM
carbamates ยาต้านพิษ atropine sulphate
สารเคมีกำจัดวัชพืช
Paraquat
ดูดซึมช้าๆในทางเดินอาหารและทางผิวหนัง เกิดปฏิกิริยา oxidation ในร่างกาย ถูกกำจัดทางไตเกิดไตวาย ปริมาณที่ทำให้เสียชีวิตคือ ความเข้มข้น 20 % ปริมาณ 15-20 ml
การรักษา
ทำ gastric larvage และให้ดินเหนียว (Fuller's earth)
ให้ bentonite หรือ Activated charcoal ร่วมกับยาระบาย (MOM)
กลุ่มยารักษาโรค
พยาธิสภาพ
พาราเซตามอล ได้รับขนาดสูงเกิน 140 mg/kg หน้าที่ตับเสีย เกิดตับวาย
แอสไพริน ได้รับขนาดสูง 200-280 mg/kg เกิดภาวะ hyperventitation ร่างกายขับคาร์บอนไดออกไซต์ออกมาก เกิดภาวะหายใจเป็นกรด ไข้สูง และเกิดภาวะ metabolic acidosis มีการขัดขวางกระบวนการแข็งตัวของเลือด เกล็ดเลือดลดลง ทำให้มีภาวะเลือดออกง่าย
อาการและอาการแสดง
ได้รับยาพาราเซตามอลเกินขนาด
24 ชั่วโมงแรกจะมีอาการคลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร เหงื่อออกมาก ซีด อ่อนเพลีย
วันที่ 2 และ 3 จะมีอาการทางตับ เจ็บชายโครงขวา
ใน 1 สัปดาห์ ตัว ตาเหลือง มีอาการของภาวะตับวาย และทำให้เสียชีวิตได้
เมื่อได้รับยาแอสไพรินเกินขนาด
มีอาการคลื่นไส้ อาเจียน กระหายนํ้า หายใจเร็ว ระดับความรู้สติลดลง ซึม สับสน หมดสติ มีภาวะเลือดออกง่าย มีอาการแสดงภาวะขาดนํ้า เหงื่อออก มีไข้ มีภาวะโซเดียมตํ่า โพแทสเซียมตํ่า นํ้าตาลในเลือดตํ่า และปัสสาวะออกน้อย
การรักษา
พิษจากพาราเซตามอล
ภายใน 2 ชั่วโมงแรกหลังกินยา ล้างท้องและให้ Activated charcoal
หลังจาก 2 ชั่วโมงไม่เกิน 4 ชั่วโมงไม่ต้องล้างท้องให้ Activated charcoal จากนั้น 2 ชั่วโมงให้ N-acetylcysteine
หลังจาก 4 ชั่วโมง ไม่ต้องล้างท้อง ไม่ให้ Activated charcoal ให้เริ่มยา N-acetylcysteine
หลังจาก 24 ชั่วโมงพบ Enzyme ตับขึ้นเร็ว > 2 เท่า ให้เริ่มยา N-acetylcysteine ทันที
พิษจากยาแอสไพริน
รีบทำให้อาเจียน หรือล้างท้อง
ให้ถ่านบริสุทธิ์เพื่อลดการดูดซึมของยา
ให้ IV fluid เพื่อเร่งการขับยาออกทางปัสสาวะ
ทำให้ปัสสาวะเป็นด่างโดยการให้โซเดียมไบคาร์บอเนต 2-3 mEq/kg ฉีดเข้า IV ทุก 4-6 ชั่วโมง หรือให้ 5% Dextose 1/3 NSS 100 ml ผสมโซเดียมไบคาร์บอเนต 3-5 mEq หยดให้หมดใน 1 ชั่วโมง
ให้วิตามิน เค ในรายที่มีภาวะเลือดออกง่าย
ในรายที่รุนแรง อาจเปลี่ยนถ่ายเลือด หรือ dialysis
พิษจากแมลงสัตว์ กัด ต่อย
การป้องกัน
สอนเด็กไม่เล่นกับสัตว์ที่ไม่ได้เลี้ยงไว้
สอนเด็กให้ดูแลสัตว์เลี้ยงในบ้านอย่างถูกวิธี
ฉีดวัคซีนป้องกันโรคพิษสุนัขบ้าให้สัตว์เลี้ยง
จัดบ้านให้เป็นระเบียบ
ไม่ให้เด็กเล่นในที่มีหญ้ารก หรือสกปรก
การช่วยเหลือเบื้องต้น
ถูกสุนัข ลิง กระรอกกัด
ล้างแผลด้วยนํ้าและสบู่ เช็ดรอบแผลด้วยแอลกอฮอล์ 70% ทา Povidone-iodine
ฉีดวัคซีนป้องกันบาดทะยักและพิษสุนัขบ้า
ถูกสัตว์มีพิษกัดหรือต่อย
งูพิษ
นอนนิ่งๆ ลดการไหลเวียนของเลือด ใช้ผ้ารัดเหนือแผลพอสอดนิ้วได้ ล้างแผลด้วยนํ้าสะอาดและสบู่ ไม่กรีดหรือดูดแผล ถ้าปวดแผลให้กินยาพาราเซตามอลได้ ห้ามให้แอสไพรินเพราะอาจทำให้เกิดภาวะเลือดออกผิดปกติ และรีบนำส่งโรงพยาบาล
ผึ้ง ตัวต่อต่อย
เอาเหล็กในออก ใช้ใบมีดขูดหรือใช้เทปใสติดแล้วดึงเหล็กในจะติดมาด้วย ล้างด้วยนํ้าสะอาดและสบู่ เช็ดด้วยแอลกอฮอล์ 70% ประคบด้วยความเย็น ทาครีมแอนติฮิสตามีน ถ้าแพ้มากอาจเกิด Anaphylactic shock ต้องรีบนำส่งโรงพยาบาล
ถูกพิษแมงกะพรุน
ทำให้ผิวหนังบวมไหม้ ให้ใช้คาลาไมน์โลชั่น หรือครีมที่มียาแก้แพ้ทาบรรเทาอาการได้ ถ้าหายใจขัดหมดสติต้องรีบนำส่งโรงพยาบาล
การช่วยฟื้นคืนชีพในเด็ก
การการช่วยฟื้นคืนชีพเด็กขั้นพื้นฐาน
ขั้นตอนแรก
1.ตรวจดูสภาพที่เกิดเหตุว่าปลอดภัยหรือไม่
2.ประเมินช่วงอายุ
Infant (เด็กเล็ก) อายุ < 1 ปี
Child (เด็กโต) อายุ > 1 ปี ถึงวัยรุ่น
การเจริญของหน้าอกในเพศหญิง
ขนรักแร้ในเพศชาย
3.วิเคราะห์สาเหตุของการเกิดเหตุการณ์ และตรวจดูว่ามีอันตรายหรือบาดแผลที่มองเห็นจากภายนอกหรือไม่
4.ประเมินผู้ป่วยโดยร้องเรียก เขย่าเบาๆ หรือตีที่บริเวณหัวไหล่ทั้ง 2 ข้าง
5.ผู้ป่วยไม่รู้สึกตัว ไม่หายใจหรือหายเฮือก (gasping) ให้ร้องขอความช่วยเหลือ โทร 1669 และตามเครื่อง AED ให้เร็วที่สุด
6.ตรวจสอบชีพจร (Pulse Check) ภายใน 10 วินาที
Infant:คลำที่ Brachial pulse
Chaild : คลำที่ Carotid pulse หรือ Femoral pulse
ขั้นตอนการทำ CPR
เทคนิค
1.เริ่มกดหน้าอก ( Chest compression ) ทันที 30 ครั้ง
กดหน้าอกให้แรง เร็ว และถูกต้อง
Push hard กดให้เล็ก 4 cm ในเด็กเล็กและ 5 cm ในเด็กโต
Push fast อัตราการกดมากกว่า 100 ครั้ง/นาที
ให้มีการคืนตัวของทรวงอกในระหว่างการกดแต่ละครั้งเต็มที่
หลีกเลี่ยงการช่วยหายใจมากเกินไป
2.ช่วยหายใจ (ventilation) 2 ครั้ง
ใช้เทคนิค Head Tilt Chin Lift ( เชยคาง ดันหน้าผาก)
สงสัยการบาดเจ็บกระดูกคอ ใช้เทคนิค Jaw thrust (ยกขากรรไกรทั้ง 2 ข้างขึ้น)
3.กดหน้าอก 30 ครั้งต่อการช่วยหายใจ 2 ครั้ง จนครบ 5 รอบ 2 นาที
ผู้ช่วยคนเดียว กดหน้าอก 30 ครั้ง ช่วยหายใจ 2 ครั้ง
ผู้ช่วยสองคน กดหน้าอก 15 ครั้ง ช่วยหายใจ 2 ครั้ง
ตำแหน่งการกดหน้าอก
เด็กเล็ก อายุ < 1 ปี
two thumb-encircling hands technique โดยกดลึก 1.5 นิ้ว กดตำแหน่งที่อยู่ต่ำกว่า Intermamary line เล็กน้อย
two-finger technique กดตำแหน่งที่อยู่ต่ำกว่า Intermamary line เล็กน้อย ใช้นิ้วกลางและนิ้วนาง
เด็กโต อายุ > 1 ปี
The heel of one hand or two hand