Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การออกแบบการดูแลผู้ป่วยรายบุคคล โรคเบาหวาน …
การออกแบบการดูแลผู้ป่วยรายบุคคล โรคเบาหวาน
การประเมินผลพยาบาล
(Evaluation)
ปัญหาที่1
อาจเกิดโรคแทรกซ้อนจากการเป็นโรคเบาหวาน เช่นปลายประสาทเสื่อมจากเบาหวานเนื่องจากขาดความรู้เกี่ยวกับโรคเบาหวาน
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
1.ไม่เกิดโรคแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานและปฏิบัติตัวในการดูแลตนเองได้อย่างถูกต้อง
2.ผู้ป่วยทราบสาเหตุที่แท้จริง ของการเกิดอาการมือ เท้า ชา และปฎิบัติตนได้ถูกต้องเมื่อมีอาการ
3.ผู้ป่วยสามารถดูแลตัวเองจากโรคที่เป็นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
เกณฑ์การประเมินผล
เกณฑ์ประเมินระยะสั้น
ผู้ป่วยรับฟังด้วยความสนใจและให้ความร่วมมือในการให้คำแนะนำ
ผู้ป่วยบอกปัจจัยและสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคเบาหวานได้
ผู้ป่วยบอกการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานได้ถูกต้องครบทุกข้อ
เกณฑ์ประเมินระยะยาว
ผู้ป่วยไม่มีอาการมือ เท้าชา
เลยในระยะเวลา 1 สัปดาห์
การประเมินผลการพยาบาล
บรรลุจุดมุ่งหมายบางส่วน
บอกปัจจัยและสาเหตุที่ทำให้เกิดโรคเบาหวานได้ ดูเกณฑ์ระดับน้ำตาลในเลือเพื่อประเมินระดับน้ำตาลในเลือดของตนเองได้
บรรลุจุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยบอกการปฏิบัติตนเพื่อป้องกันการเกิดภาวะแทรกซ้อนจากโรคเบาหวานได้ แต่ยังไม่ครบถ้วนทุกด้าน
บรรลุบางส่วน
รับฟังคำแนะนำต่างๆด้วยความสนใจและให้ความร่วมมือ
บรรลุบางส่วน
ผู้ป่วยยังมีอาการปลายมือและเท้าชา แต่ความถี่ของอาการลดลง
ไม่บรรลุจุดมุ่งหมาย
ปัญหาที่2
อาจเกิดภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเนื่องจากไม่สามารถควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดได้จากพฤติกรรมชอบรับประทานอาหารหวาน
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
มีความรู้ด้านโภชนาการที่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน
1.เข้าใจและตระหนักถึงอันตรายของภาวะระดับน้ำตาลในเลือดสูง-ต่ำ กว่าปกติ
3.มีพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการรับประทานอาหารเมื่อเป็นโรคเบาหวานดีขึ้น
เกณฑ์การประเมินผล
เกณฑ์ประเมินระยะสั้น
บอกวิธีการรับประทานอาหารได้ถูกต้องเหมาะสมกับโรค
เกณฑ์ประเมินระยะยาว
ผู้ป่วยลดการทานอาหารรสหวานจัดหรืออาหารที่ไม่เหมาะสมกับโรคเบาหวานได้
ผู้ป่วยไม่มีอาการหงุดหงิด สีหน้าสดชื่นดี แม้ไม่ได้รับประทานของหวาน หรือของมัน ที่ชอบ
การประเมินผลการพยาบาล
บรรลุจุดมุ่งหมายบางส่วน
บอกการรับประทานอาหารที่เหมาะสมกับโรคได้ แต่ไม่สามารถบอกได้ทั้งหมด
บรรลุบางส่วน
มีอาการหงุดหงิดและสีหน้าไม่สดชื่น เมื่อไม่ได้ทานของที่ชอบ
ไม่บรรลุจุดมุ่งหมาย
ทานอาหารที่ไม่เหมาะสมกับโรคเบาหวาน เช่น กล้วยเชื่อมที่มีรสชาติหวานจัด และหมูที่ติดมัน ในปริมาณที่น้อยลง แต่ยังทานอยู่
บรรลุบางส่วน
ปัญหาที่3
อาจเกิดปัญหาต่อสุขภาพตา เนื่องจากมีอาการตาพร่ามัว เป็นโรคเบาหวานกับโรคความดันโลหิตสูงและยังไม่เคยไปตรวจรักษา
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
1.ผู้ป่วยทราบว่าอาการตาพร่ามัวสามารถเป็นได้จากภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
2.ผู้ป่วยปลอดภัยจากภาวะแทรกซ้อนทางตา ที่มีสาเหตุมาจากโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
เกณฑ์การประเมินผล
เกณฑ์ประเมินผลระยะสั้น
สามารถบอกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนทางตาจากโรคเบาหวานกับโรคความดันโลหิตสูง
เกณฑ์ประเมินผลระยะยาว
ผู้ป่วยเข้ารับการตรวจสุขภาพดวงตาโดยแพทย์
ผู้ป่วยไม่เกิดโรคตา ที่มีสาเหตุจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
การประเมินผลการพยาบาล
บรรลุจุดมุ่งหมายบางส่วน
ผู้ป่วยบอกวิธีป้องกันการเกิดโรคแทรกซ้อนทางตาจากโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงได้ แต่ไม่ครบถ้วนทุกด้าน
บรรลุบางส่วน
ผู้ป่วยไม่เกิดโรคตา ที่มีสาเหตุจากภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง
บรรลุจุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยยอมเข้ารับการตรวจสุขภาพดวงตาโดยจักษุแพทย์
บรรลุจุดมุ่งหมาย
ปัญหาที่5
อาจเกิดปัญหาสุขภาพด้านอื่น เช่นโรคอ้วน เกิดโรคแทรกซ้อน เจ็บป่วยง่าย เนื่องจากไม่ออกกำลังกาย ภูมิต้านทานโรคน้อย
เกณฑ์การประเมิน
เกณฑ์ประเมินระยะสั้น
ผู้ป่วยสามารถบอกความสำคัญของการออกกำลังกายได้
สาธิตวิธีออกกำลังกายที่เหมาะสมกับร่างกายและโรคที่เป็นได้
เกณฑ์ประเมินระยะยาว
ผู้ป่วยมีการออกกำลังกาย อย่างน้อยสัปดาห์ละ 3-5 ครั้ง ครั้งละประมาณ 20-45 นาที
ผู้ป่วยไม่เกิดโรคหรือภาวะแทรกซ้อนที่มาจากการไม่ออกกำลังกาย เช่น โรคอ้วน
การประเมินผลการพยาบาล
บรรลุจุดมุ่งหมายบางส่วน
ผู้ป่วยบอกความสำคัญและประโยชน์ของการออกกำลังกายได้
บรรลุจุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยมีการออกกำลังกาย สัปดาห์ละ 1-2ครั้ง/สัปดาห์ ครั้งละ 20นาที
ไม่บรรลุจุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยไม่เกิดโรคหรือภาวะแทรกซ้อนที่มาจากการไม่ออกกำลังกาย เช่น โรคอ้วน
บรรลุจุดมุ่งหมาย
ให้ความสนใจและปฎิบัติตามกับท่ากำลังกายที่แนะนำได้บางท่า
บรรลุบางส่วน
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการดูแลตนเองด้านการออกกำลังกายและมีการออกกำลังกายได้เหมาะสมกับโรคที่เป็น
ปัญหาที่4
อาจเกิดโรคทางระบบทางเดินอาหารเช่น โรคกระเพาะอาหารอักเสบเนื่องจากรับประทานอาหารไม่ตรงเวลา ชอบอาหารรสชาติเปรี้ยวและเผ็ด และดื่มสุรา
จุดมุ่งหมายการพยาบาล
2.ผู้ป่วยเห็นความสำคัญและโทษของการรับประทานไม่ตรงเวลา
3.เห็นโทษของสุราและทราบแนวทางปฎิบัติตนเพื่อการเลิกดื่มสุรา
1.ผู้ป่วยมีความรู้ในการเลือกรับประทานอาหารเพียงพอและรสชาติที่เหมาะสมต่อร่างกาย
เกณฑ์การประเมินผล
เกณฑ์ประเมินระยะสั้น
ผู้ป่วยบอกโทษ และประโยชน์ของการรับประทานอาหารไม่ตรงเวลาได้
บอกความสำคัญของการทานอาหารให้ครบ3มื้อได้
ผู้ป่วยบอกว่าจะดื่มสุราให้น้อยลง
เกณฑ์ประเมินระยะยาว
ผู้ป่วยรับประทานอาหารครบ 3 มื้อและตรงเวลาได้ใน ระยะเวลา 1 อาทิตย์
ผู้ป่วยลดการทานอาหารที่มีรสชาติ(เปรี้ยวและเผ็ด) ลง
ผู้ป่วยงดการดื่มสุราเมื่อมีงานสังสรรค์ได้
การประเมินผลการพยาบาล
บรรลุจุดมุ่งหมายบางส่วน
ผู้ป่วยบอกโทษ และประโยชน์ของการรับประทานอาหารไม่ตรงเวลาได้
บรรลุจุดมุ่งหมาย
บอกความสำคัญของการทานอาหารให้ครบ3มื้อ และทราบช่วงเวลาที่เหมาะในการทานอาหารแต่ละมื้อ
บรรลุจุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยรับประทานครบ3 มื้อ ใน 1 อาทิตย์ แต่ยังไม่ตรงเวลามากนัก
บรรลุบางส่วน
ผู้ป่วยทานอาหารที่มีรสชาติ(เปรี้ยวและเผ็ด) น้อยลง
บรรลุจุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยรับปากว่าจะเลิกดื่มสุรา
บรรลุจุดมุ่งหมาย
ผู้ป่วยปฎิเสธดื่มการสุราเมื่อมีงานสังสรรค์
บรรลุจุดมุ่งหมาย
นางสาวนพวรรณ ดวงจันทร์ เลขที่ 34 622001035