Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind - Coggle Diagram
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind
โรคหลงผิด (Delusions)
อาการ
อาการหลงผิดว่าถูกปองร้าย
อาการหลงผิดว่าตนมีความสามารถเกินความเป็นจริง
อาการหลงผิดคิดว่าตนเองป่วย
อาการหลงผิดว่าคู่ของตนนอกใจ
อาการหลงผิดถึงความไม่ยุติธรรมจึงชอบยื่นฟ้ องร้องตามกฎหมาย
อาการหลงผิดคิดว่าผู้อื่นพูด ว่าร้าย นินทาเกี่ยวกับตน
อาการหลงผิดว่าบุคคลอื่นหลงรักตน หรือเป็นคู่รักของตน
สาเหตุ
พันธุกรรม
ความบกพร่องของระบบลิมบิกและปมประสาทบาซัล
การักษา
การบำบัดจิต
การรักษาด้วยการใช้ยา
ประสาทหลอน (Hallucination)
อาการ
เห็นภาพหลอน
ผู้ป่วยเห็นภาพหรือเหตุการณ์ขึ้นมาเองโดยที่ไม่ได้เกิดขึ้นจริง
อาการหูแว่ว
ผู้ป่วยได้ยินเสียงที่ดังมาจากจิตใจหรือดังมาจากภายนอก
สาเหตุ
โรคทางสุขภาพจิต
อาการเพ้อ (Delirium)
โรคจิตเภท (Schizophrenia)
การรักษาอาการหลอน
การรักษาด้วยยา
ยาเพื่อชะลอระบบประสาท
การให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต
สร้างความเข้าใจเกี่ยวกับตัวโรคแก่ผู้ป่วย
ให้คำแนะนำในการใช้ชีวิตประจำวันรวมถึงแนวทางการแก้ปัญหาต่าง ๆ
ภาวะแทรกซ้อน
ความกลัว
อาการหวาดระแวง
ทำร้ายตัวเอง
แยกตัวออกจากสังคม
ไม่สามารถทำงานหรือเรียนหนังสือได้ตามปกติ
การป้องกัน
หากผู้ป่วยมีอาการหลอนจากการนอนหลับไม่เพียงพอ หรือดื่มเครื่องดื่มแอลกอฮอล์ในปริมาณมาก ผู้ป่วยควรปรับพฤติกรรมดังกล่าว เพื่อไม่ให้อาการแย่ลง
หากอาการหลอนมีสาเหตุจากความป่วยทางจิต เช่น โรคจิตเภท (Schizophrenia) ซึ่งไม่สามารถป้องกันได้ แต่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงทีจะช่วยให้ควบคุมอาการได้ก่อนเกิดภาวะแทรกซ้อนรุนแรง ที่สำคัญอาจทำให้อาการดีขึ้นได้ในระยะยาว
โรคกลัวสังคม Social anxiety disorder
อาการเมื่ออยู่ในสังคม
ประหม่า
รู้สึกไม่สบายใจ
อึดอัด
กังวลใจ
ใจสั่น
มือสั่น
เสียงสั่น
เหงื่อออกมาก
สาเหตุ
เคยเจอกับสถานการณ์บางอย่างที่ทำให้รู้สึกแย่
ผลกระทบ
หลีกเลี่ยงการพบผู้คน
ไม่ค่อยเข้าสังคม
การรักษา
การพูดคุยให้คำปรึกษาด้วยการรับฟัง
แสดงความเห็นใจและให้คำอธิบาย
การทำจิตบำบัด
การบำบัดโดยการปรับเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรม
กฎหมาย พรบ
มาตรา ๑๕
(๑) ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการแพทย์ โดยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
(๒) ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บป่วยและการบำบัดรักษาไว้เป็นความลับเว้นแต่มีกฎหมายบัญญัติไว้ให้เปิดเผยได้
(๓) ได้รับการคุ้มครองจากการวิจัยตามมาตรา ๒๐
(๔) ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภาพและประกันสังคม
และระบบอื่น ๆ ของรัฐอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
มาตรา ๑๘
การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า
มาตรา ๑๗
การบำบัดรักษาโดยการผูกมัดร่างกาย
การกักบริเวณ
มาตรา ๔๐
(๑) แจ้งให้ผู้รับดูแลผู้ป่วยรับตัวผู้ป่วยไปดูแล
(๒) ในกรณีที่ไม่มีผู้รับดูแลให้แจ้งหน่วยงานด้านสงเคราะห์และสวัสดิการทั้งภาครัฐ
และเอกชนตามที่คณะกรรมการประกาศกำหนด
(๓) แจ้งให้พนักงานเจ้าหน้าที่ติดตามดูแล ประสานงานและช่วยเหลือในการดำเนินการฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ป่วยตาม (๑) และหน่วยงานตาม (๒)
แล้วรายงานให้คณะกรรมการสถานบำบัดรักษาทราบ
มาตรา ๑๖ ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลด้านสุขภาพของผู้ป่วยในประการที่น่าจะทำให้เกิดความเสียหายแก่ผู้ป่วย เว้นแต่
(๑) ในกรณีที่อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือผู้อื่น
(๒) เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน
(๓) มีกฎหมายเฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย