Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU -…
บทที่ 5 การพยาบาลผู้ป่วยวิกฤตที่ใช้เทคโนโลยี และยาที่ใช้บ่อยใน ICU
เครื่องช่วยหายใจ (Mechanical ventilator)
ข้อบ่งชี้การใช้
ภาวะพร่องออกซิเจน (oxygenation failure)
ความล้มเหลวของการระบายอากาศ (ventilation failure)
กล้ามเนื้อกะบังลมไม่มีแรง (diaphragm fatigue)
ระบบไหลเวียนโลหิตในร่างกายผิดปกติ
ชนิด
Non-invasive positive ventilator; NPPV
ไม่ใส่ท่อช่วยหายใจ
Invasive positive ventilator; IPPV
ใส่ท่อช่วยหายใจ
เป็นการอัดอากาศเข้าไปในปอดผ่านทาง endotracheal tube หรือ tracheostomy
ประเภท
Control mandatory ventilation (CMV)
เป็นวิธีช่วยหายใจที่เครื่องช่วยหายใจทั้งหมด โดยผู้ป่วยไม่มี
การหายใจเองเลย
Synchronized Intermittent mandatory ventilation (SIMV)
เป็นวิธีช่วยหายใจที่มีทั้งการ
หายใจเองและการหายใจด้วยเครื่องช่วยหายใจ
Spontaneous ventilation
Continuous positive airway pressure (CPAP)
ไม่มีการส่งแรงดันช่วยเพิ่มขณะที่ผู้ป่วยหายใจเข้า
Pressure support ventilator (PSV)
ผู้ป่วย
สามารถหายใจได้เอง
ภาวะแทรกซ้อน
ปริมาตรเลือดแดงที่ส่งออกจากหัวใจ (cardiac output)
ลดลง
การบาดเจ็บของปอดจากการใช้ปริมาตรการหายใจที่สูงเกินไป (Pulmonary volutrauma)
ภาวะถุงลมปอดแตก (Pulmonary barotrauma)
การบาดเจ็บของทางเดินหายใจ (Artificial airway complication)
ภาวะปอดแฟบ (Atelectasis)
การเกิดปอดอักเสบจากการใช้เครื่องช่วยหายใจ (Ventilator Associated Pneumonia; VAP)
ภาวะพิษจากออกซิเจน (Oxygen toxicity)
การเกิดแผลหรือภาวะเลือดออกในทางเดินอาหาร
ผลต่อภาวะโภชนาการ
การพยาบาล
ดูแลด้านจิตใจ
จัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม
ดูแลความสุขสบายทั่วไป
ลดสิ่งรบกวนต่าง ๆ
ลดการรบกวนผู้ป่วย
ควรประเมินภาวะต่างๆและดูแลอย่าง
ใกล้ชิด
ดูแลด้านร่างกาย
ประเมินสภาพผู้ป่วยและภาวะแทรกซ้อน
สัญญาณชีพต้องประเมินทุก 1 ชั่วโมง
ระดับความรู้สึกตัว
การดูแลท่อหลอดลมและความสุขสบายในช่องปากของผู้ป่วย
ดูดเสมหะเมื่อพบว่ามีปริมาณเสมหะมาก
ป้องกันภาวะปอดแฟบ
ติดตามผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการที่สำคัญ
การหย่าเครื่องช่วยหายใจ (Weaning)
วิธีการหย่า
ผู้ป่วยหายใจเองทาง T piece หรือหายใจเองสลับกับเครื่องช่วยหายใจเป็นพักๆ
การใช้เครื่องช่วยหายใจ mode SIMV,PSV,CPAP ตั้งค่าการหายใจของเครื่องให้ต่ำกว่าการหายใจของผู้ป่วย
PSV เครื่องจะปล่อยแรงดันในช่วงที่ผู้ป่วยหายใจเข้าด้วยตนเอง ผู้ป่วยเป็นผู้กำหนดอัตราการหายใจ
หลังหย่า
ให้ O2 mask with collugate 10 ลิตร/นาที
วัดสัญญาณชีพทุก 15 นาที ทุก 30 นาทีและทุก 1 ชั่วโมงจนกว่าจะคงที่
เฝ้าระวังอาการของผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
การใส่สายสวนหลอดเลือด (central line monitor)
ข้อบ่งชี้
การไหลเวียนลดลง หรือความดันโลหิตต่ำ
ผ่าตัดซึ่งอาจเสียเลือดได้มาก
ตรวจ arterial blood gas
วัดความดันโลหิตยาก เช่น ผู้ป่วยถูกไฟไหม้ทั้งตัว
ตำแหน่งของเส้นเลือด
Redial artery (นิยมมากที่สุดเนื่องจากอยู่ตื้น สามารถแทง
ได้ง่าย)
Brachial artery
Femoral artery
Dorsalis pedis
การพยาบาล
ดูแลระบบของ arterial line
ป้องกันภาวะแทรกซ้อน
การป้องกันการติดเชื้อ (Infection)
เก็บตัวอย่างเลือดส่งตรวจทาง arterial line ต้อง flush สาย ไม่ให้มีเลือดหรือฟองอากาศค้างในสาย
ตรวจดูคลื่นที่แสดงการอุดตัน (damped waveform)
จดบันทึกค่า Arterial blood pressure ที่ได้ทุก 15-60 นาที
กรณีที่แพทย์ถอดสายยางออกแล้วควรกดตำแหน่งแผลไว้นาน อย่างน้อย 10 นาที หรือจนกว่าเลือดจะหยุด
การวัดค่าความดันในหลอดเลือดดำส่วนกลาง (Central venous pressures; CVP)
ติดตามเมื่อ blood loss จำนวนมาก มี volume over load
CVP ปกติ อาจอยู่ในช่วง 6-12 cm H2O (2-12 mmHg)
การพยาบาล
จัดตำแหน่ง transducer ให้อยู่ในตำแหน่ง phlebostatic axis
ป้องกันการเลื่อนหลุดของสายสวน