Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดผิดปกติ - Coggle Diagram
การพยาบาลทารกแรกเกิดผิดปกติ
ทารกขาดออกซิเจน
สาเหตุ
การไหลเวียนเลือดทางสายสะดือของทารกขัดข้อง เช่น สาย สะดือถูกกด
O2 หรือสารอาหารผ่านรกมายังทารกไม่พอ เช่น มารดา BP ต่ำ จากยาระงับความรู้สึกที่ฉีดเข้าทางไขสันหลัง, มารดาเสียเลือดในระหว่างการคลอด, มดลูกกดทับ aorta และ venacava
ปอดของทารกขยายไม่เต็มที่ภายหลังคลอด
ไม่มีการแลกเปลี่ยนออกซิเจนทางรก
การไหลเวียนของเลือดไม่เปลี่ยนเป็นแบบทารกหลังคลอดปกติ
อาการและอาการแสดง
ทารกจะมีลักษณะเขียว แรกคลอด ไม่หายใจ ตัวนิ่ม อ่อนปวกเปียก reflex ลดลง หัวใจเต้นช้าโดย อาการขึ้นอยู่กับความรุนแรงของภาวะขาดออกซิเจน
แนวทางการรักษา
Moderate asphyxia
ใช ้bag และ mask ให้ออกซิเจนร้อยละ 100 และความดันที่เพียงพอ
หลังช่วยเหลือ 30 วินาที HR ไม่เพิ่มหรือเต้นช้ากว่า 60 /min ควร ใส่ท่อ endotracheal tube และนวดหัวใจ
clear airway
Mild asphyxia
clear airway
กระตุ้นการหายใจด้วย ลูบหน้าอกหรือหลัง
เช็ดตัวทารกให้แห้ง
ออกซิเจนที่ผ่านความชื้นและอุ่นผ่าน mask 5 LPM
Severe asphyxia
ช่วยหายใจทันทีทีี่คลอด โดยการใส่ endotracheal tube และช่วยหายใจด้วย bag ใช้ออกซิเจนร้อยละ 100 พร้อมกับนวดหัวใจในอตัราการนวดหัวใจ :การ ช่วยหายใจ 3 : 1
หลังช่วย 1 นาท ีถ้าไม่มี HR หรือหลังช่วย 2 นาท ีHR < 100 /min ควร ได้รับการใส่ umbilical venous catheter เพื่อให้ยาช่วยฟื้นคืนชีพและสารน้ำ
clear airway
No asphyxia
เช็ดตตัวทารกให้แห้ง ห่อผ้าให้ความอบอุ่น หรือวางทารกใต้ radiant warmer ที่อุ่น
clear airway โดยดูดสิ่งคัดหลั่งในปากและจมูก
ทารกที่มารดาติดยาเสพติด
ผลกระทบของเฮโรอีนต่อทารก
ทารกได้รับสารเสพติดติดต่อกนัตลอดระยะของการ ตั้งครรภ์ เกิดการติดสารเสพตดิขึ้น
ทารกแรกเกิดจึงมีอาการที่แสดงถึงการขาดสารเสพติด หรือที่เรียกว่า อาการถอนยา (withdrawal symptom)
ทารกมีภาวะออกซิเจนในเลือดต่ำ เนื่องจากเฮโรอีนยับยั้ง การนำ O2 เข้าสู่เซลล์ร่วมกับหลอดเลือดสายสะดือมีการหดรัดตัวทำให้คลอดออกมามีภาวะ RDS
ทารกในครรภ์ขาดสารอาหารทุกชนิด
ทารกคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์เจริญเติบโตล่าช้า จำนวนการแบ่งตัวของเซลล์และ growth hormone ลดลง มารดาไม่สนใจการรับประทานอาหารในระยะตั้งครรภ์ ร่วมกับภาวะออกซิเจน ในเลือดต่ำเรื้อรัง
ผลกระทบของสรุาต่อทารก
Fetal Alcohol Syndrome (FAS)
สาเหตุ
มารดาที่ดื่มสุรา 6 แก้วต่อวัน ในไตรมาสแรกของการตั้งครรภ ์ หรือ 3 ออนซ์ต่อวันตลอดการตั้งครรภ์
ประกอบด้วย
การกลืนมีปัญญา หลังดูดนมจะอาเจียน
ระดับสติปัญญาต่ำกว่าปกติ
มีลักษณะผิดรูปของใบหน้าชัดเจน ศีรษะเล็ก
การเจริญเติบโตของกล้ามเนื้อและระบบประสาท ทำงานไม่ดี
มีการเจริญเติบโตช้า
เป็นโรคหัวใจแต่กำเนิดหนังตาบนสั้นตาปิดไม่สนิท จมูกสั้น สันจมูกแบน บางรายพบตาเหล่
spina bifida
แขนขาผิดปกติ อวัยวะสืบพันธุ์ผิดปกติ (พบน้อย)
ริมฝีปากบางคล้ายปากปลา ขากรรไกรเล็กกว่าปกติ ตาเล็กผิดปกติ
เส้นลายมือมีเพียงเส้นเดียว ไม่สามารถกำมือแน่นๆ ได ้มีอาการสั่นในช่วง 1 เดือนแรก หลังคลอด
ผลกระทบของสารเสพติดต่อทารก
ทารกติดเชื้อในครรภ์ หรือติดเชื้อตั้งแต่กำเนิด (congenital infection)
ทารกพิการแต่กำเนิด (congenital anomaly)
ทารกเสียชีวิตในครรภ์
ทารกเจริญเติบโตช้า
ทารกแรกคลอดมีอาการของการขาดยา (neonatal abstinence syndrome, NAS)
น้ำหนักแรกคลอดตา (low birth weight)
โอกาสเกิด sudden infant death syndrome (SIDS) สูง
ผลกระทบของการสูบบุหรี่ต่อทารก
เนื้อเยื่อขาดออกซิเจนเรื้อรัง จากหลอดเลือดหดรัดตัวร่วมกับมีระดับคาร์บอนไดออกไซด์ในเลือดมากขึ้น
การเจริญเติบโตช้า มีน้ำหนักน้อย
คลอดก่อนกำหนด และเกิดภาวะหาย ใจลำบาก
มีสติปัญญาต่ำ
ผลกระทบของ Nicotine
หัวใจทารกเต้นผิดปกติ
uteroplacental blood flow ลดลง
ทำให้หัวใจเต้นเร็ว ความดันโลหิตสูง
ทารกได้รับสารอาหารน้อย
หลั่ง catecholamine มากขึ้น
ทารกได้รับออกซิเจนน้อย
ผลกระทบของแอมเฟตามีน
เด็กมีปัญหาพฤติกรรมในระยะยาว
ภาวะเลือดออกในสมอง ภาวะสมองตาย ทำให้มีการทำลายเซลลป์ระสาท เส้นรอบศีรษะมีขนาดเล็กซึ่งมีผลต่อสมาธิ ความจำ
มีความผิดปกติของหัวใจแต่กำเนิด
น้ำหนักแรกเกิดน้อย
neonatal abstinence syndrome (NAS)
อาการ
ไม่ยอมดูดนม
ทารกจะร้องเสียงแหลม
หายใจผิดปกติ sucking และ swallowing เสียไป
การรกัษา
Phenobarbital 2 –4 mg/kg ทุก 8 ชั่วโมง เป็นยาที่แนะนำใช้
การรักษา
การรักษาแบบประคับประคอง โดยการรักษาตามอาการ เช่น ระวังภาวะขาดน้ำและอาหาร ดั้งนั้น จึงอาจพิจารณาให้นมผสมได้
การรกัษาแบบจำเพาะ คือ การบรรเทาอาการขาดยา และหรือใช้ร่วมกับยาที่ทำให้ทารกสงบ ไดแ้ก่ Phenobarbital, Chlorpromazine Diazepam เป็นต้น
การพยาบาล
ดแูลให้ทารกได้รับนมผสมตามความต้องการของร่างกาย / เปิดโอกาสให้มารดาที่สามารถเลิกสารเสพติดไดเ้ล้ียงบตุรด้วยนมตนเอง
รายงานอาการของทารกให้มารดาและบิดาทราบเป็นระยะ
จัดทารกให้อยู่ในที่สงบและห่อตัวทารกไว้หรืออุ้มทารก
ติดตามผลการรักษาในระยะยาวร่วมกับสหสหวิชาชีพ
ประเมินอาการถอนยาของทารกแรกเกิด
ทารกสำลักน้ำคร่ำ
อาการ
ขี้เทาจะไปอุดตามหลอดลมและถุงลมในปอดของทารก ทําให้ทารกหายใจเร็วกว่าปกติเล็กน้อย เป็นเวลา 2-3 วัน หลังคลอด หรือบางรายอาจหายใจเร็วมากกว่า 60 ครั้งต่อนาที
ปลายมือปลายเท้าและรอบปากเขียว
หน้าอกโป่ง เวลาหายใจเข้าออกหน้าอกจะทุ่ม
ฟังปอดพบเสียง rales และ rhonchi เสียงลมหายใจ เข้าเบาลง เสียงหัวใจค่อยลง เนื่องจากมีลมในช่องเยื่อหุ้มปอด (pneumothorax)
ภาพรังสีของปอดพบปอดทึบ พบสารน้ําในซ่องเยื่อหุ้มปอด
สายสะดือมีสีเหลือง (yellowish staining)
สาเหตุ
เกิดจากการขาด ออกซิเจนของทารกทํา ให้ทารกหายใจเอาขี้ เทาที่ตนเองถ่ายไว้เข้าไป
แนวทางการรักษา
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อกําจัดเชื้อที่ปนเข้าไปกับขี้เทา
ดดูขี้เทาและน้ำคร่ำออกจากปากและจมูกของทารกให้มากที่สุดก่อนทารกหายใจ
หากมีขี้เทาในน้ำคร่ำประกอบกับทารกหายใจช้าความตึงตัวของกล้ามเน้ื้อไม่ดี และ HR < 100 ครั้งต่อนาที พิจารณาใส่ ETT เพื่อดูดข๊็เทาออก
ภายหลํ.การดุดขี้เทาในหลอดลม ควรใส่สายยางดูดขี้เทาจากกระเพาะอาหารด้วย
ในรายที่มี asphyxia โดยทำการดูดขี้เทาก่อนช่วยด้วยแรงดันบวก และดูดออกให้มากที่สุด
ตรวจ arterial blood gas เพื่อประเมินภาวะความ
เป็นกรดของเลือด
งดอาหารและน้ําทางปาก ดูแลให้ 10% Dextros in water ทางหลอดเลือดดํา
การพยาบาล
จัดให้ทารกนอนตะแคงศีรษะตําเล็กน้อย หรือตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง
ให้ลูกสูบยางแดงหรือสาย Suction ขนาดเล็ก ดูดขี้เทาและน้ําครําจนกว่าจะหมด
กระตุ้นให้ร้องและดูแลให้ออกซิเจนwarmer ที่อุณหภูมิ 36.5-37 องศาเซลเซียส
สังเกตอาการผิดปกติโดยเฉพาะการหายใจมากกว่า 60 ครั้งต่อนาที ให้รายงานแพทย์
บอกถึงอาการและความก้าวหน้าของการรักษาพยาบาลทารกให้มารดาและบิดาทราบ
รักษาร่างกายทารกให้อบอุ่น โดยจัดให้นอนใน radiant
ความผิดปกติเกิดขึ้นเนื่องจากการที่ทารก หายใจเอาขี้เทา ซึ่งปนอยู่ในน้ําคร่ําเข้าไป ในระบบทางเดินหายใจ โดยการหายใจนี้ อาจเกิดขึ้นในมดลูกหรือขณะที่ผ่านางซ่อง คลอดก็ได้ มักพบในทารกคลอดเกินกําหนด หรือ คลอดครบกําหนดแต่น้ําหนักตัวน้อย