Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบาดเจ็บของกระดูก - Coggle Diagram
การบาดเจ็บของกระดูก
กระดูกต้นแขนหัก
(Fracture humurus)
สาเหตุ
การคลอดท่าก้นผู้ทำคลอดดึงทารกออกมาแขนเหยียด
การคลอดท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
การตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์พบว่าทารกไม่งอแขน
เมื่อจับแขนขยับทารกจะร้องไห้เนื่องจากรู้สึกเจ็บ
อาการและอาการแสดง
ในรายที่มีกระดูกหักสมบูรณ์ อาจได้ยินเสียงกระดูกหักตลอดคลอด
แขนข้างที่หักอาจจะมีอาการบวมและทารกไม่เคลื่อนไหวแขนข้างที่หัก
แนวทางการรักษา
กระดูกแขนเดาะ จะรักษาโดยการตรึงแขนให้แนบกับลำตัวเพื่อไม่ให้แขนเคลื่อนไหว 1-2 สัปดาห์
แต่ถ้ากระดูกแขนหักสมบูรณ์ จะรักษาโดยการจับแขนตรึงกับผนังทรวงอก ศอกงอ 90 องศา
กระดูกต้นขาหัก
(Fracture femur)
สาเหตุ
การคลอดท่าก้น
ผู้ทำคลอดดึงขาทารกขณะที่ติดอยู่ที่ทางข้างเชิงกราน
การตรวจร่างกาย
ทดสอบโมโรรีเฟลกซ์ ทารกไม่ยกขาข้างกระดูกหัก
สังเกตว่าทารกจะไม่เคลื่อนขาข้างกระดูกหัก
อาการและอาการแสดง
ขาทารกมีอาการบวม
จับทารกเคลื่อนไหวทารกจะร้องไห้
อาจได้ยินเสียงกระดูกหักขณะทารกคลอด
แนวทางการรักษา
ถ้ากระดูกไม่หักแยกจากกันรักษาโดย
การใส่เฝือกขายาว ประมาณ 3 -4 สัปดาห์
ถ้ากระดูกหักแยกจากกันรักษาโดยการห้อยขาทั้งสองข้างไว้กับราวที่ขวางปลายเตียง ขาเหยียดตรง ให้ก้นและสะโพกลอยจากพื้นเตียง ดึงขาไว้นาน 2-3 สัปดาห์
กระดูกไหปลาร้าหัก (Fracture clavicle)
สาเหตุ
การคลอดทารกท่าศีรษะที่ไหล่คลอดยาก
ทารกตัวโตหรือคลอดท่าก้นที่แขนเหยียดซึ่งผู้ทำคลอดดึงแขนออกมา
การตรวจร่างกาย
ทดสอบ moro reflex แขนทั้งสองข้างของทารกเคลื่อนไหวไม่เท่ากัน
กรณีที่กระดูกเดาะอาจยกแขนได้ คลำบริเวณที่หักอาจได้ยินเสียงกรอบแกรบ
พบว่ามีอาการบวมห้อเลือด ตรงบริเวณที่ได้รับบาดเจ็บ
แนวทางการรักษา
หายได้เองมักเกิดกระดูกงอกใหม่ภายใน 1 สัปดาห์
ให้แขนและไหล่ด้านที่กระดูกไห้ปลาร้าหักอยู่นิ่งๆโดยการกลัดแขนเสื้อติดกับตัวเสื้อประมาณ 10 – 14 วัน
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับความสุขสบายและป้องกันอันตรายที่อาจเกิดเพิ่ม
ดูแลให้ทารกได้รับอาหารและน ้าอย่างเพียงพอ
จัดกิจกรรมไม่ให้เคลื่อนไหวร่างกายทารกบ่อยๆ
ดูแลการขับถ่าย ป้องกันการระคายเคืองจากอุจจาระและปัสสาวะ
ดูแลให้ความอบอุ่นทางด้านจิตใจแก่ทารก
ดูแลไม่ให้กระดูกส่วนที่หักเคลื่อนไหว
ดูแลบรรเทาความวิตกกังวลของมารดาและบิดา