Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น A beautiful mild, นางสาว เนตรชนก กองจรูญ ห้อง 2A เลขที่ 46 …
ภาพยนต์สั้น A beautiful mild
ประวัติทั่วไป
นายจอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr. John Forbes Nash, Jr.)
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
พัฒนาการตามช่วงวัย
ในช่วงวัยรุ่น
มุ่งมั่นในการเรียนจนจบปริญญาโททางด้านคณิตศาสตร์ด้วยอายุ 20 ปี
สนใจทางด้านคณิตศาสตร์
เข้าเรียนปริญญาเอก
มีความโดดเด่นทางด้านการเรียนในระดับอัจฉริยะ
มีเพื่อนร่วมห้องชื่อนายชาร์ลส์ (Mr. Charles)
คอยเป็นกำลังใจ และให้คำปรึกษา
ประวัติครอบครัว
มีภรรยาชื่อ อลิเซีย และมีลูกด้วยกัน 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
ในช่วงวัยเด็ก
ไม่มีเพื่อนสนิทเเละมีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
เป็นคนเก็บตัว
เป็นเด็กเรียนเก่ง
การตรวจสภาพจิต
5.การรับรู้ (Orientation)
ผู้ป่วยบอกว่า : บอกว่าจิตแพทย์ที่รักษาเขาเป็นสายลับรัสเซีย ผู้ป่วยจึงไม่ให้ความร่วมมือในการรักษาเท่าที่ควร
6.ความจำ (Memory)
จากการสนทนาผู้ป่วยมีความจำเฉพาะหน้า (Immediate and Recall memory)
สามารถจำกลุ่มตัวเลขยากๆยาวๆได้เป็นอย่างดี
7.ระดับสติปัญญา (Intelligence)
มีความรู้ ความเข้าใจและมีสติปัญญาในระดับอัจฉริยะทางด้านคณิตศาสตร์
4.ระดับของการรู้สึกตัว (Conscious)
มีเหม่อลอยบ้างเล็กน้อย
3.ความสามารถในการรับสัมผัส (Perception)
สอบถามทราบว่าผู้ป่วยกำลังสนทนากับเพื่อนชื่อชาร์ลส์
ผู้ป่วยบอกว่า : เห็นเพื่อนคนนี้เข้ามาในห้องตรวจด้วย และเห็นเพื่อนคนดังกล่าวมาปรากฏตัวอยู่กับเขาบ่อยๆในสถานการณ์ต่างๆ
บางครั้งผู้ป่วยพูดคนเดียวเหมือนกำลังสนทนากับใคร
8.ความตั้งใจและสมาธิ (Attention & Concentration)
หมกมุ่นกับบางเรื่องที่มีความสนใจเป็นพิเศษ
14.การรับรู้เกี่ยวกับตนเอง (Insight)
ผู้ป่วยยอมรับว่าตนเองแตกต่างจากคนอื่น แต่ไม่คิดว่าตนเองเจ็บป่วยทางจิต
แสดงพฤติกรรมแปลกๆเพราะต้องรักษาความลับทางการทหารเพื่อความมั่นคงของชาติ
ที่วิ่งหนีออกมาจาก ที่ทำงานเพราะมีคนสะกดรอยตามและกำลังจะทำร้ายเขา
9.การตัดสินใจ (Judgment)
คิดช้า
มีท่าทีหวาดระแวงเกือบตลอดเวลา
10.การคิด (Thought)
ผู้ป่วยยังคงมีความเชื่อว่าตนเองเป็นสายลับของกระทรวงกลาโหม อย่างลับ
กำลังถูกปองร้ายจากกลุ่มคนที่เป็นสายลับรัสเซีย
2.การเคลื่อนไหว (Psychomotor Activity)
เดินหลังค่อม
มองซ้ายขวาเกือบตลอดเวลา
12.พื้นฐานอารมณ์ (Mood)
ไม่ชอบยุ่งกับใคร
การมีคนมาสะกดรอยตามทำให้เขากลัวและกังวลอย่างมาก
1.ลักษณะทั่วไป (General Appearance)
นั่งกุมมือและบีบมือตัวเองเกือบตลอดเวลา
สีหน้าวิตกกังวล
ก้มหน้าเป็นส่วนใหญ่
แววตาหวาดระแวง
11.ลักษณะการพูด (Speech)
พูดตะกุกตะกักในบางครั้ง
เมื่อพูดถึงเรื่องการเป็นสายลับ การถูกสะกดรอยตามจะพูดรัว เร็ว
15.อัตมโนทัศน์ (Self-concept)
ผู้ป่วยเชื่อว่าเพราะเขา มีความสามารถในการถอดรหัสตัวเลขจึงต้องมาทำงานเป็นสายลับซึ่งเป็นภารกิจในการช่วยเหลือประเทศชาติ
13.การแสดงอารมณ์ (Affect)
ผู้ป่วยมักมีสีหน้าเรียบเฉย
จะแสดงสีหน้า แววตา และท่าทีหวาดกลัวเมื่อพบจิตแพทย์
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
Schizophrenia โรคที่มีความผิดปกติของบุคลิกภาพ มีความผิดปกติด้านการรับรู้ ที่มีลักษณะเฉพาะเป็นแบบจำเพาะ และอารมณ์เป็นแบบไม่เหมาะสม หรือ Blunted สติสัมปชัญญะเชาวน์ ปัญญามักดีอยู่ แม้ว่าจะมีการสูญเสียการรับรู้
ชนิด
Disorganized Type (Hebephenic) ความคิดกระจัดระจายไม่เป็นไปในแนวเดียวกัน แสดงออกด้านอารมณ์จะเรียบเฉย
Catatonic Type มีความผิดปกติที่พฤติกรรมการเคลื่อนไหว อาจ
เป็นได้ทั้งแบบไม่เคลื่อนไหว
Simple Type : ผู้ป่วยขาดความสัมพนัธ์กับบุคคล บุคลิกภาพเปลี่ยนไปในทางเสื่อม เก็บตัวอยู่ตามลำพังคนเดียวละเลยกิจวัตรประจำวัน อารมณ์เฉยเมยไม่คิดว่าตนผิดปกติไม่มีความคิดหลงผิด มักเกิดในวัยรุ่น ค่อยเป็นค่อยไป
Paranoid Type มีความหมกมุ่นอยู่กับอาการหลงผิด หรือหูแว่ว
Auditory hallucination ได้ยินเสียงของวิลเลียมสั่งให้ถอดรหัสให้ได้ ทั้งที่ไม่มีใครได้ยิน :<3:
หลงผิด (Delusion) มีความเชื่อว่าตนเองเป็นสายลับของกระทรวงกลาโหม อย่างลับๆ :<3:
Schizoaffective มีอารมณ์เศร้าร่วมกับอาการ
เบื่ออาหาร นอนไม่หลับ คิดช้า รู้สึกว่า ตนมีความผิด เบื่อชีวต คิดอยากตาย
Undifferentiated Type มีอาการของโรคจิตเภทไม่ชัดเจน ไม่สามารถจัดเข้าประเภทอื่น ๆ ได้มีอาการหลงผดิ ประสาทหลอน ความคิดไม่ปะติดปะต่อกัน
Residual Type เก็บตัว เฉือยชา ไม่สนใจตัวเอง
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการด้านบวก (Positive Symptoms)
Psychotic dimension
อาการหลงผิด (Delusion)
มีความเชื่อว่าตนเองเป็นสายลับของกระทรวงกลาโหม อย่างลับ :<3:
อาการประสาทหลอน (Hallucination)
Auditory hallucination :<3:
Visual hallucination :<3:
Disorganization dimension
Disorganized speech
เมื่อพูดถึงเรื่องการเป็นสายลับ การถูกสะกดรอยตามจะพูดรัว เร็ว
พูดตะกุกตะกักในบางครั้ง
Disorganized behavior
มองซ้ายขวาเกือบตลอดเวลา :<3:
ก้มหน้าเป็นส่วนใหญ่ :<3:
เดินหลังค่อม :<3:
กลุ่มอาการด้านลบ (Negative Symptoms)
Affective flattening
สีหน้าเรียบเฉย :<3:
Avolition
Alogia
Asociality
เก็บตัวอยู่คนเดียว ไม่ร่วมกิจกรรมที่เป็นนันทนาการ :<3:
สาเหตุ
ปัจจัยด้านชีวเคมีของสมอง (Biological factors)
โดปามีน (dopamine) ในบางบริเวณของสมอง มีการทำงานมากเกินไป
ปัจจัยด้านจิตใจ (Psychological factors)เป็นความผดิปกติจากพัฒนาการทางบุคลิกภาพของบุคคลในวยัเด็ก
ชอบเก็บตัวอยู่คนเดียว :<3:
ไม่มีสัมพันธภาพกับเพื่อน :<3:
มีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน :<3:
ปัจจัยด้านพันธุกรรม (Genetic factors)
ญาติของผู้ป่วยมีโอกาสเป็นโรคจิตเภทสูงกว่าประชากรทั่วไป
ปัจจัยด้านสังคมและวัฒนธรรม (Sociocultural factors)
ฐานะยากจน เป็นเด็กนักเรียนทุน :<3:
การวินิจฉัยโรค ตามเกณฑ์ DSM-5
D.ต้องแยก โรคจิตอารมณ์โรคซึมเศร้า โรคอารมณ์สองขั้วออก
B.ระดับความสามารถในด้านสำคัญๆ เช่น ด้านการทำงาน การมีสัมพันธภาพกับผู้อื่น หรือการดูแลตนเองลดลงไปจากเดิมอย่างชัดเจนอย่างน้อยหนึ่งด้าน
A.มีอาการต่อไปนี้ตั้งแต่2 อาการขึ้นไปนาน 1 เดือน โดยอย่างน้อยต้องมีอาการในข้อ 1-3 อยู่1 อาการ
การพูดอย่างไม่มีระเบียบแบบแผน ( disorganized speech) (การพูดในลักษณะที่หัวข้อ วลีหรือประโยคที่กล่าวออกมาไม่สัมพันธ์กัน)
ได้ยินเสียงของวิลเลียมสั่งให้ถอดรหัสให้ได้ ทั้งที่ไม่มีใครได้ยิน :<3:
พฤติกรรมที่ไม่มีระเบียบแบบแผนที่คนในสังคมหรือ พฤติกรรมการเคลื่อนไหวน้อยเกินไป (grossly disorganized or catatonic behavior) หรือแปลกประหลาด (catatonic behavior)
เดินหลังค่อม :<3:
มองซ้ายขวาเกือบตลอดเวลา :<3:
ก้มหน้าเป็นส่วนใหญ่ :<3:
อาการประสาทหลอน (hallucinations)
Visual hallucination :<3:
Auditory hallucination :<3:
อาการด้านลบ ( negative symptoms)
สีหน้าเรียบเฉย :<3:
ชอบเก็บตัวอยู่คนเดียว :<3:
อาการหลงผิด (delusions)
มีความเชื่อว่าตนเองเป็นสายลับของกระทรวงกลาโหม อย่างลับ :<3:
E.ต้องแยกอาการโรคจิตที่เกิดจากโรคทางกายและสารเสพติดออก
F.ผู้ป่วยที่มีประวัติกลุ่มโรคออทิสติก หรือโรคเกี่ยวกับการสื่อสารตั้งแต่วัยเด็ก จะวินิจฉัยโรคจิตเภท ก็ต่อเมื่อมีอาการหลงผิดหรืออาการประสาทหลอนที่เด่นชัดเป็นเวลาอย่างน้อย 1 เดือน ร่วมด้วย
C.มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไป โดยต้องมีactive phase (ตามข้อ A) อย่างน้อยนาน 1 เดือน (อาจน้อยกว่านี้หากรักษาได้ผล) และรวมช่วงเวลาที่มีอาการในระยะ prodromal โดยในช่วง prodromal อาการที่พบอาจเป็นเพียงอาการด้านลบ หรืออาการตามข้อ A ตั้งแต่2อาการ ขึ้นไป แต่แสดงออกแบบเล็กน้อย (เช่น คิดแปลกๆ หรือมีอาการรับรู้ที่ไม่ปกติแต่ไม่ถึงขั้นประสาทหลอน)
มีอาการตามข้อ A ตั้งเเต่จบปริญาโทจนถึงทำงาน :<3:
การรักษา
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn :<3:
Somatic or Electroconvulsive Therapyการบำบัดทางร่างกายหรือไฟฟ้า
ECT 1 course (5 times per week/ 10 weeks) :<3:
Psychotherapy จิตบำบัด
Milieu Therapy เน้น ที่การจัดสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ลดภาวะเครียด
กิจกรรมการพยาบาล
3.กระตุ้นและส่งเสริมให้ผู้ป่วยเข้าร่วมกิจกรรมกลุ่มบำบัดที่เหมาะสม เพื่อส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ของผู้ป่วยร่วมกับผู้อื่น รวมถึงรู้จักการทำงานร่วมกับผู้อื่นทั้งนี้ในขณะเข้าร่วมกิจกรรมที่เหมาะสมก็ให้การชื่นชมผู้ป่วย เพื่อส่งเสริมความมั่นใจให้ผู้ป่วยรู้สึกภาคภุมิใจตัวเองและมั่นใจในการอยุ่ร่วมกันกับผู้อื่นมากยิ่งขึ้น
4.ติดตามและประเมินซ้ำเกี่ยวกับพฤติกรรมแยกตัวของผู้ป่วย เช่น ประเมินพฤติกรรมการเก็บตัว แยกตัว เป็นต้น เพื่อให้ทราบถึงการเปลื่ยนแปลงของพฤติกรรมการแยกตัวของผู้ป่วยทั้งนี้ถ้าพบว่าผู้ป่วยยังคงมีพฤตกรรมการแยกตัวไม่ดีขึ้น พิจารณาปรึกาากับหัวหน้าเวร เพื่อหาวิธีแก้ไขต่อไป
2.กระตุ้นให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึกที่คับข้องใจที่อาจเป้นสาเหตุของการเกิดพฤติกรรมการแยกตัว เพื่อให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายใจและเป็นการใช้ข้อมูลที่ได้รับเป็นแนวการแก้ปัญหาให้กับผู้ป่วย
5.ดูแลให้ได้ยาตามแผนการรักาาของเเพทย์โดยให้ Clozapine 100 mg 1 x1 oral pc เพื่อใช้รักษาอาการของโรค schizophrenia ที่ส่งผลให้ผู้ป่วยมีอาการหวาดระเเวงจึงทำให้ผู้ป่วยมีพฤติกรรมแยกตัว
1.ประเมินอาการหวาดระเเวง โดยสังเกตสีหน้า ท่าทาง คำพูดและพฤติกรรมของผู้ป่วยเพื่อให้ทราบระดับความรุนเเรงของภาวะหวาดระเเวง
ข้อวินิจฉัย มีพฤติกรรมเเยกตัวเนื่องจากหวาดระเเวง
โรคจิตหลงผิด (Delusional disorder)
ข้อวินิจฉัย อาจเกิดอันตรายแก่ผู้อื่นเนื่องจากมีความคิดหลงผิด
กิจกรรมการพยาบาล
พยาบาลต้องยอมรับในความคิดหลงผิดของผู้ป่วย โดยพยาบาลไม่ควรโต้แย้ง หรือท้าทายว่าที่ผู้ป้วยเล่าให้ฟังนั้นไม่จริง และพยาบาลไม่ต้องปฏิบัติตามที่ผู้ป่วยเชื่อ และไม่ควรนำคำพูดของผู้ป้วยไปพูดล้อเล่น
พยาบาลต้องประเมินความคิดของผู้ป่วยว่ามีผลอย่างไรต่อพฤติกรรมและการกระทำของผู้ป่วย
3.พยาบาลต้องให้ความสำคัญกับการสร้างสัมพันธภาพพื่อการบำบัดอย่างสม่ำเสมอเพื่อเป็นแนวทางให้ผู้ป่วยได้พูดถึงความคิดของเขาได้อย่างอิสระ และเพื่อได้รับฟังความคิดของผู้ป่วย
การเข้าไปเปลี่ยนความคิดของผู้ป่วยนั้นกระทำได้ค่อนข้างยาก แต่ถ้าผู้ป่วยมีความไว้วางใจและเชื่อถือในตัวพยาบาล การแสดงความคิดเห็นที่ขัดแย้งกัน ด้วยการให้ความจริง( Present reality) ยังเป็นที่ยอมรับได้
สำหรับผู้ป่วยที่มีความคิดหลงผิดแบบระแวง พยาบาลควรปฏิบัติดังนี้
การเข้าไปสนทนากับผู้ป่วยต้องแนะนำตัว และบอกวัตถุประสงค์ให้ชัดเจน
หลีกเลี่ยงการเข้าไปจับต้องตัวผู้ป่วย และไม่ควรใช้ภาษาหรือกริยาที่ก่อให้เกิดความสงสัยหรือตีความได้ไม่ชัดเจน
พยาบาลต้องไม่ทำให้ผู้ป่วยสงสัยในพฤติกรรมของพยาบาล เพราะผู้ป่วยจะระมัดระวังตัว
สาเหตุ
แยกตัวเองออกจากสังคม
ประสบความ สำเร็จในชีวิตน้อยกว่าที่ควรจะเป็น
ยังไม่เป็นที่ทราบชัดเจน
โรคทางกายบางอย่าง
โรคสมองเสื่อม
เนื้องอกในสมอง
การใช้สารเสพติดบางชนิด
ชนิด
Jealous type
หลงผิดว่าคู่ของตนนอกใจ อาการนี้พบบ่อยและบางครั้งอาจแยกได้ยากว่าเป็นเรื่องจริงหรืออาการหลงผิด
Pdrsecutory type
หลงผิดว่าถูกปองร้าย ผู้ป่วยอาจมีอาการหลงผิดว่าตนเองหรือบุคคลใกล้ชิดถูกปองร้าย ถูกติดตาม ถูกหมายเอาชีวิตหรือถูกใส่ร้ายในทางใดทางหนึ่ง
คิดว่าตัวเองเเละภรรยากับลูกถูกตามล่าโดยรัสเซีย :<3:
Grandiose type
หลงผิดว่ามีความสามารถเกินความเป็นจริง มีคุณค่า มีอำนาจ มีความรู้สูง มีทรัพย์สินเงินทองมาก หรือมีความสัมพันธ์พิเศษกับบุคคลสำคัญหรือหลงผิดว่าเป็นเชื้อพระวงศ์
มีความเชื่อว่าตนเองเป็นสายลับของกระทรวงกลาโหม อย่างลับ :<3:
Erotomanic type
หลงผิดว่าบุคคลอื่นหลงรักตนหรือเป็นคู่รักของตน ส่วนใหญ่มักเป็นบุคคลที่มีชื่อเสียง และมีฐานะทางสังคมสูงกว่า
Somatic type
หลงผิดว่าร่างกายมีความผิดปกติหรือป่วยเป็นโรคบางอย่าง เช่น มะเร็ง ผู้ป่วยบางรายหลงผิดว่าอวัยวะของตนมีรูปร่างผิดปกติหรือพิกลพิการ
คือ โรคจิตชนิดหนึ่ง ผู้ป่วยจะมีอาการหลงผิดเรื่องใดเรื่องหนึ่ง หรือหลายเรื่องที่เกี่ยวข้องกันตลอดเวลาอาการหลงผิดเป็นอาการทางจิตที่ผู้ป่วยมีความเชื่อในเรื่องที่ไม่เป็นความจริแต่ไม่สามารถลบความเชื่อนั้นออกจากความทรงจำไปได้ถึงแม้จะมีหลักฐานที่เป็ นจริงมาหักล้างความเชื่อผิด ๆ นันก็ตาม
อาการและอาการแสดง
อาการหลงผิดซึ่งอาจเป็นเรื่องเดียวหรือหลายเรื่องที่ เกี่ยวข้องกัน อาการหลงผิดในโรคนี้ไม่มีลักษณะแปลกประหลาดอย่างที่พบในโรคจิตเภท เรื่องราวอาจไม่น่าจะเป็น แต่ไม่ถึงกับเป็นไปไม่ได้ อาการมักคงอยู่นานเป็นเดือนเป็นปีหรือบางรายเป็นอยู่ตลอดชีวิต
มีความเชื่อว่าตนเองเป็นสายลับของกระทรวงกลาโหม อย่างลับ :<3:
คิดว่าตัวเองเเละภรรยากับลูกถูกตามล่าโดยรัสเซีย :<3:
การวินิจฉัยโรค
อาจทำได้ยากในเบื้องต้น โดยเฉพาะถ้าอาการหลงผิดนั้นเป็นเรื่องที่มีโอกาสเกิดขึ้นจริงได้บ่อย บางครั้งก็ต้องแยกอาการหลงผิดจากการหลอกลวงให้คนอื่นเข้าใจผิดเพื่อหวังผล ประโยชน์
จิตแพทย์ต้องอาศัยความรู้และประสบการณ์ ประกอบกับข้อมูลโดยละเอียดจนแน่ใจได้ว่าอาการของผู้ป่วยเป็นอาการหลงผิดจริง มิใช่กระทำไปโดยมีแผนการณ์เพื่อหวังผลประโยชน์ จึงสามารถวินิจฉัยได้ว่าผู้ป่วยเป็นโรคหลงผิด
การรักษา
ยารักษาโรคจิตช่วยลดอาการหลงผิดของผู้ป่วยได้ และเมื่อใช้ร่วมกับจิตบำบัด
การให้ครอบครัวบำบัด (family therapy) ช่วยให้คนในครอบครัวเกิดความเข้าใจในตัวผู้ป่วยและยอมรับผู้ป่วยมากขึ้น
การใช้จิตบำบัดเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยยอมรับว่ามีปัญหา
ประเด็นที่สงสัย
พัฒนาการในวัยเด็กส่งผลกระทบหรือไม่
ไม่มีเพื่อนสนิทเเละมีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
เป็นคนเก็บตัว
ความคิดหลงผิดกับภาพหลอนต่างกันอย่างไร
อาการหลงผิด เป็นความผิดปกติในเนื้อหาของความคิด เเต่
อาการประสาทหลอน เป็นการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่ผิดปกติ โดยไม่ได้มีสิ่งกระตุ้นจากภายนอก เช่น หูแว่ว ได้ยินเสียงพูดคุยเป็นเรื่องราว ทั้ง ๆ ที่ไม่มีใครพูด
ทำไมถึงเก็บตัวอยู่คนเดียวและคิดว่าเพื่อนไม่ชอบเกิดจากอะไร
คิดว่าที่เพื่อนไม่คบผู้ป่วย เพราะอิจฉาที่ผู้ป่วยฉลาดกว่า
ทำไมคิดว่าตนเองทำงานให้กับหน่วยราชการลับ
คิดว่าตัวเองเป็นอัจฉริยะ ด้านนักคณิตศาสตร์ที่มีความสำคัญต่ออนาคตของอเมริกา
ผู้ป่วยรายนี้สมครวได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลหรือควรได้รับการรักษาที่บ้านโดยคนในครอบครัว
ควรได้รับการรักษาที่โรงพยาบาล เพราะเริ่มมีอาการเห็นภาพหลอนหนักคิดเรื่อยๆ จนเผลอไปทำร้ายภรรยา และถ้าปล่อยไว้ไม่ไปรักาาที่โรงพยาบาลผู้ป่วยก็จะไม่สามารถเเยกความจริงกับภาพหลอนออกได้
ทำไมผู้ป่วยไม่กินยาต่อเนื่อง
เพราะว่าผลข้างเคียงของยาที่ผู้ป่วยกินส่งผลต่อการใช้ชีวิตของผู้ป่วย
ไม่สามารถทำงานได้ เพราะจะง่วงเเละคิดงานไม่ออก
ไม่อารามณ์ทางเพศกับภรรยา
ผลข้างเคียงของการรักษามีอะไรบ้าง
ทำงานไม่ได้ จะง่วงตลอดเวลา
ไม่มีอารมณ์ทางเพศ
ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยา ควรได้รับยาชนิดใด
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs เพื่อลดอาการวิตกกังวล
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn เพื่อคลายความวิตกกังวล
การเลี้ยงดูของครอบครัวเป็นอย่างไร
ขาดความอบอุ่น เพราะต้องอยู่ที่ป้านเด็กกำพร้าตั้งเเต่เด็ก
พ่อแม่ทิ้งไปตั้งเเต่เด็ก
ครอบครัวจะมีส่วนช่วยในการรักษาผู้ป่วยอย่างไรบ้าง
ดูเเลให้ผู้ป่วยกินยาให้ครบอย่างสม่ำเสมอ และตรงต่อเวลา
เข้าใจและคอยให้กำลังใจผู้ป่วย
เป็นที่ปรึกษาให้ผู้ป่วยได้ระบายความรู้สึก
สังเกตพฤติกรรมของผู้ป่วย
ผลกระทบอะไรบ้างที่เกิดกับผู้ป่วยรายนี้
ตกงาน
ทะเลาะกับภรรยา
ไม่ใครอยากคบกับผู้ป่วย
ทำกิจกรรมต่างๆได้ช้าลง
การรักษา
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ECT 1 course (5 times per week/ 10 weeks)
การรักษาด้วยยา
Thorazine 30 mg IM q 6 hrs
Diazepam 10 mg IM q 4 hrs prn
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านครอบครัว
ครอบครัวตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขให้ดี
ด้านสังคมและวัฒนะธรรม
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
สภาพแวดล้อมรอบตัว
ด้านจิตใจ
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
อาการและอาการแสดง
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายบุคคลรอบครัว
ทำร้ายตนเอง
ไม่ชอบเข้าสังคม
ชอบอยู่คนเดียว
ไม่มีเพื่อน
ประสาทหลอน
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำ
ด้านพฤติกรรม
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
มองซ้าย ขวา ตลอดเวลา
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
เดินหลังค่อม
หวาดระเเวง
คิดว่าจะมีคนทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
นางสาว เนตรชนก กองจรูญ ห้อง 2A เลขที่ 46
รหัสนักศึกษา 613601047