Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาที่ได้รับการช่วยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ,…
บทที่ 7 การพยาบาลมารดาที่ได้รับการช่วยเหลือสูติศาสตร์หัตถการ
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการทำคลอดโดยใช้คีม
การพยาบาลในการดูแลผู้คลอดที่ได้รับการช่วยคลอดโดยใช้คีม
การซักประวัติได้แก่ ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
การตรวจร่างกาย ได้แก่ การตรวจทางหน้าท้อง
ตรวจช่องทางคลอด การตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม ได้แก่การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอดต่อการช่วยคลอดด้วยคีม
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อคจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล ใช้คีมไม่ถูกต้อง
เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
ต่อทารก
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
กระทบกระเทือนต่อกะโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
คีมกด Clavical plexus จะทำให้เกิด Erb’ s Palsy
คีมกด Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวมและถุงลมแฟบ
ส่วนประกอบของคีม
ก้าน (Shank)
เป็นส่วนที่ต่อระหว่างใบคีมกับด้ามถือ
ล็อก (Lock)
เป็นส่วนใบคีมทั้งสองข้างประกบกัน
ใบคีม (Blade)
มีลักษณะเป็นแผ่นแบนเป็นส่วนที่แนบจับศีรษะทารก ความโค้งของใบคีมเป็น 2 ลักษณะคือ
ความโค้งที่แนบกับศีรษะทารกเรียกว่า Cephalic curve
ความโค้งที่ขนานไปกับช่องเชิงกราน เรียกว่า Pelvic curve
ด้ามถือ (Handle)
เป็นส่วนที่ใช้มือจับดึง จะอยู่ส่วนปลายของคีม
ประเภทของคีม
Long Curve Axis Traction Forcep
เป็นคีมที่ใช้ในกรณีศีรษะทารกอยู่ค่อนข้างสูง
Kielland Forceps
เป็นคีมที่ใช้การหมุนของศีรษะทารกภายในอุ้งเชิงกราน เพื่อช่วยแก้ปัญหา Deep transverse arrest of head
Short Curve Forcep
เป็นคีมที่ใช้ในกรณีศีรษะทารกมาอยู่ต่ำบริเวณฝีเย็บ ทำคลอดใช้แรงดึงน้อย และเกิดอันตรายน้อย
หน้าที่ของคีม
Extractor (ตัวดึง)
จะใช้ในผู้คลอดที่ไม่มีแรงเบ่งพอหรือไม่ต้องการให้ผู้คลอดออกแรงเบ่งในท่าศีรษะเป็นส่วนนำโดยใช้ Simson forcep และในกรณีท่าก้นจะใช้คีมทำคลอดศีรษะโดยใช้ Piper forceps
Rotation (ตัวหมุน)
ใช้ในกรณี Deep transverse arrest of head โดยใช้ Kielland Forceps
ข้อบ่งชี้ในการทำคลอดด้วยคีม
ข้อบ่งชี้ด้านแม่
มดลูกหดรัดตัวไม่ดี/มารดาไม่มีแรงเบ่ง
กระดูกเชิงกรานค่อนข้างแคบหรือ Rigid pelvic floor หรือ Rigid perineum
ส่วนนำของทารกค่อนข้างใหญ่ หรือ Occiput อยู่ด้านหลัง หรือ Deep transverse arrest of head
ผู้คลอดมีภาวะความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์
ผู้คลอดอ่อนเพลีย
ผู้คลอดมีสุขภาพไม่ดีจากโรคเรื้อรัง เช่น โรคหัวใจ, ไทรอยด์, หลอดลมอักเสบ
มีปัญหาเลือดออกในสมอง
ไส้ติ่งอักเสบ
ข้อบ่งชี้ด้านทารก
Fetal distress
สายสะดือพลัดต่ำ
การทำเพื่อการรักษาและการป้องกัน (Prophylactic or Elective)
ช่วยลดความกดดันบางประการที่เกิดขึ้นกับผู้คลอดทั้งทางร่างกายและอารมณ์
ป้องกันการฉีกขาดหรือยืดขยายมากเกินไปของฝีเย็บ
จำกัดปริมาณการเสียเลือดจากการคลอด
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ส่วนประกอบของเครื่องดูดสุญญากาศ
Traction bar หรือ Handle
เป็นด้ามสำหรับดึงเป็นรูปกากบาท สายโซ่จะถูกยึดกับ Handle ด้วยหมุดโลหะ
Suction tube
เป็นสายยางที่ต่อระหว่างถ้วยกับเครื่องดูดสุญญากาศ มีความยาวประมาณ 1 เมตร
ภายใน Cup
จะมีแผ่นโลหะ (Mental plate) และโซ๋โลหะ (Chain) ซึ่งเป็นแผ่นโลหะที่มีโซ่ติดอยู่ด้วยกัน
เครื่องดูดสุญญากาศ
มีมาตรวัดเป็นกิโลกรัมต่อตารางเซนติเมตร ขวดนี้จะต่อกับเครื่องปั๊มด้วยมือ เท้า หรือแบบไฟฟ้า การทำให้เกิดสุญญากาศใน Cup ควรทำอย่างช้าๆและนุ่มนวล
Vacumm cup
ทำด้วยโลหะมีความลึก 20 เซนติเมตรมีหลายขนาดให้เลือกตามความเหมาะสม แพทย์จะเลือกใช้ Cup ที่มีขนาดใหญ่มากที่สุดเพื่อลดอันตรายที่เกิดกับศีรษะทารกในครรภ์
ข้อบ่งชี้ในการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
Uterine inertia โดยมีปัญหามดลูกหดรัดตัวไม่ดีเนื่องจากอ่อนเพลียหรือเกิดความล่าช้าในระยะที่ 2 ของการคลอด
โรคแทรกซ้อน เช่น ความดันโลหิตสูง, โรคหัวใจ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะ Mild fetal asphyxia ซึ่งเกิดจาก Fetal distress
Mild CPD
ศีรษะทารกไม่หุนตามกลไกการคลอดปกติ เช่น Deep transverse arrest of head หรือ Occiput posterior position
ภาวะแทรกซ้อนในการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ด้านทารก
อาจจะเกิด Cephal hematoma
อาจจะมีเลือดอกที่จอตาแต่จะหายได้ภายใน 1 สัปดาห์
แรงกดที่ศีรษะเกิด Asphyxia
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อกะโหลกศีรษะ สมองและหนังศีรษะทารกในครรภ์
แรงดูดกระทบกระเทือนต่อ Facial nerve จะทำให้เกิด Facial Palsy
หูหนวกกระทบกระเทือนต่อ Auditory Organ
ปอดบวม (Pneumonia) และถุงลมแฟบ
1.ด้านมารดา
มีการฉีกขาดของหนทางคลอด
อันตรายต่อกระดูกเชิงกราน เช่น Symphysis pubis แยก
กระทบกระเทือนต่อกระเพาะปัสสาวะ
ช็อกจากความเจ็บปวด ผู้คลอดไม่ทำด้วยความนุ่มนวล
ใช้เครื่องมือไม่ถูกต้อง เกิดการตกเลือด
ติดเชื้อ
อันตรายจากการแพ้ยาระงับความรู้สึก
การพยาบาลในการดูแลผู้คลอดที่ได้รับการช่วยคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
การซักประวัติได้แก่ ประวัติเกี่ยวกับอาการผิดปกติในการตั้งครรภ์และการคลอดครั้งก่อน
การตรวจร่างกาย ได้แก่ การตรวจทางหน้าท้อง ตรวจช่องทางคลอดการตรวจร่างกายทั่วไปและสัญญาณชีพ การประเมินสภาพทารกในครรภ์
ภาวะจิตสังคม ได้แก่การประเมินความวิตกกังวลและหวาดกลัวของผู้คลอดต่อการช่วยคลอดด้วยเครื่องดูดสุญญากาศ
การตรวจพิเศษและการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
สภาวะที่เหมาะสมในการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
ปากมดลูกเปิดหมด
ส่วนนำอยู่ในสภาวะที่เหมาะสมสามารถคลอดทางช่องคลอดได้
ศีรษะในครรภ์ต้อง Deep engaged แล้ว
ไม่พบปัญหาผิดสัดส่วนกันระหว่างศีรษะทารกกับช่องเชิงกรานของผู้คลอด
กระเพาะปัสสาวะและทวาหนักต้องว่าง
ถุงน้ำคร่ำแตกแล้ว
ข้อห้ามในการทำคลอดโดยใช้เครื่องดูดสุญญากาศ
CPD
ทารกในครรภ์อยู่ในท่าผิดปกติ
ทารกในครรภ์อยู่ในภาวะวิกฤติที่ต้องช่วยให้คลอดโดยด่วน
ทารกในครรภ์เสียชีวิตแล้ว
ทารกคลอดก่อนกำหนด
มีการพลัดต่ำของสายสะดือ
ทารกอยู่ในภาวะ Fetal distress โดยที่ปากมดลูกยังไม่เปิด
การผ่าตัดนำทารกออกทางหน้าท้อง
ยาระงับความรู้สึก
Spenal block
Epidural block
GA
การพยาบาลมารดาที่ผ่าตัดเอาเด็กออกทางหน้าท้อง
การพยาบาลขณะทำการผ่าตัด
การให้ข้อมูล
พยาบาลต้องให้ข้อมูลและอธิบายถึงเหตุผลของการทำผ่าตัดครั้งนี้และต้องเน้นให้เห็นถึงความคลายคลึงของการทำผ่าตัด
ช่วยเหลือให้มารดาและผู้ใกล้ชิดได้พูด-เล่าถึงความรู้สึกกลัว ผิดหวัง เศร้าโศก โกรธ สูญเสียต่างๆ ตลอดจนความรู้สึกหรือประสบการณ์ที่เคยได้รับมาในรายที่ต้องทำผ่าตัดเอาเด็กออกซ้ำ
ข้อมูลต่างๆ ตามความเป็นจริงและพยาบาลให้กำลังใจและบอกถึงผลของการผ่าตัดทั้งในด้านมารดาและทารกเท่าที่จะเป็นไปได้
การให้การดูแลด้านจิตใจ พยาบาลสามารถประเมินผลการพยาบาลได้โดย
มารดาและครอบครัวสามารถเล่า บรรยายความรู้สึกของตนเองต่อการผ่าตัดทั้งในด้านมารดและทารกเท่าที่จะเป็นไปได้
มารดาและครอบครัวยอมรับในเหตุผลของการท าผ่าตัดและสามารถที่จะเผชิญกับปัญหาที่อาจเกิดขึ้น
การพยาบาลมารดาก่อนทำผ่าตัดเอาเด็กออกทางหน้าท้อง
มารดาเสี่ยงต่อการติดเชื้อในขณะทำการผ่าตัดและภายหลังการผ่าตัด
อธิบายถึงขั้นตอนต่างๆ ในการเตรียมร่างกายของมารดาเพื่อการผ่าตัด
เตรียมเครื่องมือเครื่องใช้ในการเตรียมผ่าตัด
ดูแลให้มารดา NPO
ตัดเตรียมความสะอาดบริเวณผิวหนัง
ทำการสวนคาสายปัสสาวะ
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำและยา
เจาะเลือดส่งห้องปฏิบัติการเพื่อหาชนิดและหมู่เลือด
ส่งปัสสาวะตรวจและส่งเลือดตรวจหา CBC
ตรวจนับสัญญาณชีพ
เขียนบันทึกรายงานของมารดาในฟอร์มปรอท
การพยาบาลหลังทำการผ่าตัด
การพยาบาลด้านร่างกาย
พยาบาลต้องประเมินสภาวะของมารดาหลังผ่าตัด
ประเมินการหายของแผล
การติดเชื้อ
ปริมาณสารอาหารและน้ำ
หน้าที่ของกระเพาะปัสสาวะและลำไส้
หน้าที่ของระบบการหายใจ
ทักษะในการเลี้ยงดูทารกของมารดา
ความคิดเห็นของมารดาและครอบครัวต่อการผ่าตัดครั้งนี้
ในระยะนี้มารดามีโอกาสเกิดภาวะแทรกซ้อน
สังเกตอาการของการติดเชื้อบริเวณแผลผ่าตัด
ดูแลให้มารดาได้รับยาปฏิชีวนะตามคำสั่งการรักษาของแพทย์อย่างครบถ้วน
ตรวจนับสัญญาณชีพทุก 30 นาที ใน 2 ชั่วโมงแรกที่ย้ายมาหน่วยหลังคลอด และทุก 1 ชั่วโมง ต่อๆมาจนถึงสัญญาณชีพสม่ำเสมอ
พยาบาลจำเป็นต้องสังเกตอาการผิดปกติที่อาจกเกิดขึ้นได้
ดูแลให้มารดาได้รับสารน้ำทางเส้นเลือด
ดูว่าผิวหนังบริเวณที่ให้สารน้ำมันมีการอับเสบ บวม แดงและให้สารน้ำจนกว่ามารดาจะสามารถรับประทานอาหารได้
ในระยะหลังผ่าตัดมารดามีโอกาสเกิดการคั่งค้างของปัสสาวะ
ในระยะนี้มารดาอาจเกิดอาการท้องอืด ท้องผูกขึ้นได
ภาวะแทรกซ้อนของระบบหายใจ
การพัฒนาทักษะในการดูแลทารกหรือการแสดงบทบาทของมารดา
การพยาบาลด้านจิตใจ
อธิบายให้มารดาทราบถึงความต้องการของหญิงคลอด
สอนมารดาถึงวิธีปฏิบัติตนเพื่อฟื้นฟูสมรรถภาพ
3 กระตุ้นให้มารดาได้พูดถึงความรู้สึกต่างๆ
อธิบายหรือชี้ประเด็นให้มารดามองเห็นถึงข้อดีต่างๆ
นำทารกให้มารดาและบิดาดูโดยเร็วที่สุด
ให้มารดาได้มีโอกาสสัมผัส โอบกอดทารกและสำรวจทารก
กระตุ้นให้มารดาดูแลทารกด้วนตนเอง
ควรให้คำชมเชยแก่มารดาในขณะที่ดูแลทารก
แนะนำมารดาในเรื่องการพักผ่อนภายหลังผ่าตัด การออกกำลังกายซึ่งสามารถทำได้เมื่อรู้สึกว่าไม่มีความเจ็บปวดบริเวณที่ผ่าตัดหรือหน้าท้อง
ข้อบ่งชี้ร่วม
Previous C/S
Ante partum hemorrhage
3.Fetal distress
4.ภาวะแทรกซ้อนทางสูติกรรม
ข้อบ่งชี้
CPD
ท่าผิดปกติ เช่น ท่าขวาง
Total placenta previa
4.มะเร็งปากมดลูก
การชักนำการคลอด (Induction of labour)
ภาวะแทรกซ้อนจากการชักนำการคลอด
ผลต่อหญิงตั้งครรภ์
1.1 ภาวะมดลูกแตก
1.2 การตกเลือดก่อนคลอด
1.3 การตกเลือด
1.4 การติดเชื้อของเยื่อบุถุงน้ำคร่ำ
1.5 เกิดการอุดตันในกระแสเลือดจากน้ำคร่ำ
ผลต่อทารก
2.1 ทารกคลอดก่อนกำหนด
2.2 ภาวะ fetal distress
2.3 อันตรายจากการเจาะถุงน้ำคร่ำ
2.4 การคลอดเร็วเกินไป
2.5 การติดเชื้อจากการเจาะถุงน้ำและมีการติดเชื้อของถุง
ข้อบ่งชี้ทางด้านสูติกรรม
ภาวะความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (PIH)
ภาวะครรภ์เกินกำหนด
ทารกเสียชีวิตในครรภ์ (DFIU)
PROM ในรายที่อายุครรภ์มากกว่า 34 สัปดาห์
การติดเชื้อของถุงน้ำคร่ำ (choroamnionitis)
ภาวะเลือดออกก่อนคลอดจากภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด
ทารกพิการแต่กำเนิดในครรภ์ที่ไม่สามารถมีชีวิตอยู่ได้
ทารกเจริญเติบโตช้า (IUGR)
ภาวะน้ำคร่ำน้อย (oligohydramnios)
ทารกบวมน้ำ (hydrops fetalis)
ข้อห้ามในการชักนำการคลอด
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa)
ภาวะที่มีเส้นเลือดทอดต่ำหรือผ่านปากมดลูก (vasaprevia)
ทารกท่าขวาง CPD
Previous c/s
เนื้องอกที่ขัดขวางช่องทางคลอด
Prolapsed cord
Fetal distress
Twins
การชักนำการคลอดที่นิยม คือ Medical และ Surgical
Medical
1.1 Prostaglandin E1 dose 25 ถึง 50 mg intravaginally into proterior fornix ทุก 3-6 ซม. ไม่เกิน 300-400 mg. ใน 24 ซม. เพื่อให้มดลูกหดรัดตัว
ข้อควรระวัง อาการคลื่นไส้-อาเจียน, ไข้, วิงเวียนศีรษะ, ปวดศีรษะ, ถ่ายเหลว, มดลูกหดรัดตัวรุนแรง (hyper uterine contraction) กว่าปกติอาจเกิดมดลูกแตกได้
1.2 Protaglandin E2 dose 10 mg. intravaginally into posterior fornix ทุก 6 ชม.
ข้อควรระวัง ปวดศีรษะ, คลื่นไส้อาเจียน, มีไข้, ความดันโลหิตต่ำ, Hyperuterine contraction
1.3 การใช้ Oxytocin นิยมใช้เพื่อ Augmentation of labor dose infusion pump and solution 10 u/1000 cc. 0.5-2 m u/min ทุก 30-60 นาที until 20-40 mu/min เพื่อให้มดลูกหดรัดตัว 40-90 mmHg (Internal mornitor) Duration 60-90 วินาที ทุก 2-3 นาที
ข้อควรระวัง มดลูกหดรัดตัวมากเกินไป, คลื่นไส้อาเจียน
การชักนำการคลอดโดยใช้หัตถการ
การเจาะถุงน้ำทุนหัว (Amniotomy, Artificial rupture of membrance)
การพยาบาลผู้คลอดที่ได้รับการชักนำการคลอดโดยการเจาะถุงน้ำทูนหัว
เตรียมเครื่องมือ
เครื่องมือเจาะถุงน้ำ Amniotomy Forceps หรือ Tenaculum หรือ KockersForceps
หม้อนอน (Bed pan)
ถุงมือ Sterile
Set Flush
เตรียมผู้คลอด
ก่อนแพทย์ลงมือทำพยาบาลต้องฟังเสียงหัวใจทารกและบันทึกไว้
เมื่อน้ำคร่ำไหลออกมาต้องบันทึกเกี่ยวกับลักษณะสี และจำนวนของ Amniotic Fluid
Thick meconium
Moderate meconium stain
Mild meconium stain
Amniotic Fluid clear
ฟังเสียงหัวทารกทันทีภายหลังเจาะถุงน้ำทูนหัว
Flushing และใส่ผ้าอนามัยเพื่อสังเกตปริมาณน้ำคร่ำ
ให้ผู้คลอดนอนพักบนเตียง
บันทึกเกี่ยวกับ Interval, Duration
บันทึก FHS เป็นระยะๆ
บันทึก T, P, R, BP หากมีไข้รายงานแพทย์เพื่อให้ยาปฏิชีวนะ
ข้อบ่งชี้ทางอายุรกรรม
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคเบาหวาน
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคไตเรื้อรัง
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคความดันโลหิตสูงเรื้อรัง
นางสาวศุภลักษณ์ สุทธิวงษ์ เลขที่ 96