Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บาดเจ็บที่ศีรษะทารก - Coggle Diagram
บาดเจ็บที่ศีรษะทารก
เลือดออกใต้เยื่อหุ้มกะโหลกศีรษะ
(Cephalhematoma)
สาเหตุ
ศีรษะทารกถูกกดจากช่องทางคลอด
การใช้ V/E
ระยะเวลาการคลอดยาวนาน
ภาวะแทรกซ้อน
hyperbilirubinemia
เกิดการติดเชื้อจากการดูดเลือดออกจากก้อนโน
การวินิจฉัย
ประวัติเบ่งคลอดนาน ช่วยคลอดโดยใช้ V/E
ตรวจพบศีรษะก้อนบวมโนบนกระดูกกะโหลกศีรษะ ลักษณะแข็งค่อนข้างตึง คลำขอบเขตได้ชัดเจนกดไม่บุ๋ม
อาการและอาการแสดง
อาการชัดเจนหลัง 24 ชั่วโมงไปแล้ว
ในรายที่รุนแรงพบทันทีหลังเกิดและพบว่าก้อนโนเลือดมีสีผิดปกติ คือเป็นสีดำหรือสีน้ำเงินคล้ำ
แนวทางการรักษา
ถ้ามีภาวะตัวเหลืองร่วมด้วยและมีระดับบิลลิรูบินในเลือดสูงจำเป็นต้องได้รับการส่องไฟ
รักษาด้วยการดูดเลือดออก
ถ้าไม่มีภาวะแทรกซ้อนจะหายไปเองภายใน 2 เดือน
การพยาบาล
สังเกตอาการซีด เจาะ Hct และให้เลือดตามแผนการรักษา
ตรวจ MB ในรายที่ไดรับการส่องไฟ
ให้ทารกนอนตะแคงด้านตรงข้ามกับก้อนโนเลือด
อธิบายมารดาและบิดาให้เข้าใจถึงอาการของทารก
สังเกตลักษณะ ขนาด ของภาวะเลือดออกในสมอง
แนะนำไม่ให้ใช้ยาทา ยานวด ประคบหรือเจาะเอาเลือดออกเอง
ก้อนบวมน้ำใต้หนังศีรษะ (caput succedaneum)
สาเหตุ
เกิดจากแรงดันที่กดลงบนศีรษะทารกระหว่างคลอด
การใช้เครื่องดูดสุญญากาศช่วยคลอด
การวินิจฉัย
คลำศีรษะทารกพบก้อนบวมโน นุ่ม กดบุ๋ม ขอบเขตไม่ชัดเจน
อาการและอาการแสดง
พบได้ด้านข้างของศีรษะ การบวมของก้อนโนจะมีความกว้างมีขนาดโตประมาณไข่ห่าน ทำให้ศีรษะมีความยาวมากกว่าปกติ
แนวทางการรักษา
หายไปเองประมาณ 2-3 วันหลังคลอด
ถ้าเกิดจากV/E จะหายได้ช้ากว่า
การพยาบาล
สังเกตการเปลี่ยนแปลงทางระบบประสาทของทารก
อธิบายให้มารดาและบิดาเข้าใจถึงอาการ
สังเกตลักษณะ ขนาด ของก้อนโนที่ศีรษะ
บันทึกอาการและการพยาบาล
เลือดออกภายในกะโหลกศีรษะ
(Intracranial hemorrhage)
สาเหตุ
ขาดออกซิเจนเป็นเวลานานในขณะคลอด
Preterm
อันตรายรุนแรงจากการคลอด
การคลอดยาก
การให้ยาช่วยเร่งคลอดไม่เหมาะสม
ภาวะ CPD
การคลอดเฉียบพลัน
การคลอดท่าก้น
การใช้เครื่องมือช่วยคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
เลือดออกกดศูนย์หายใจทำให้ทารกหายใจลำบาก
ทารกอาจเกิดปัญญาอ่อน
การวินิจฉัย
จากประวัติการคลอดเพื่อค้นหาสาเหตุ
อาการและอาการแสดง
ซึม ดูดนมไม่ดี
ร้องเสียงแหลม
มีภาวะซีด หรือมีอาการเขียว
หายใจผิดปกติ หายใจเร็ว ตื้น ช้า ไม่สม่ำเสมอ
กำลังกล้ามเนื้อไม่ดี มีอาการอ่อนแรง
กระหม่อมโป่งตึง
moro reflex จะเสียไป
ชัก
การพยาบาล
ป้องกันและไม่ให้ทารกได้รับอันตรายจากการชัก
ดูแลให้ทารกได้พักผ่อน
ตรวจสอบสัญญาณชีพ และบันทึกไว้ทุก 2- 4 ชั่วโมง
ดูแลฉีดวิตามินเค จำนวน 1 มิลลิกรัม เข้ากล้ามเนื้อ
ให้ทารกอยู่ในตู้อบ
ดูแลให้ได้รับนมและน้ำที่เพียงพอ
ประคับประคองจิตใจมารดาและบิดา
ดูแลทารกหายใจสะดวก ได้รับออกซิเจนอย่างเพียงพอ
เลือดสะสมใต้ช่องว่างเนื้อเยื่อกะโหลก
(Subgaleal hematoma)
สาเหตุ
มักพบในการคลอดโดยใช้ V/E
อาการและอาการแสดง
ก้อนมีลักษณะน่วม มีขนาดเพิ่มขึ้นช้าๆ
มีขอบเขตจากหน้าไปหลังเริ่มจากขอบเบ้าตาไปยังท้ายทอยและด้านข้างจากหู