Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้นเรื่อง A beautiful mind - Coggle Diagram
ภาพยนต์สั้นเรื่อง A beautiful mind
ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ป่วยชื่อ จอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
ภรรยา = อลิเซีย
บุตร 1 คน
มี น้องสาว 1 คน
สัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่น เกือบทำร้ายภรรยา และลูก
ผู้ป่วยไม่มีความต้องการทางเพศกับภรรยา
ผู้ป่วยมีความคิดหมกมุ่นและพฤติกรรมแปลกๆ
พัฒนาการตามช่วงวัย
ในวัยเด็ก
เก็บตัว
ไม่มีเพื่อนสนิท
เรียนเก่ง
สนใจด้านวิทยาศาสตร์และทำกาารทดลองด้วยตนเองตั้งแต่อายุ 12 ปี
ในวัยรุ่น
สนใจด้านคณิตศาสตร์
มีบุคลิกท่ี่แตกต่างจากผู้อื่น
ในวัยผู้ใหญ่
เรียนปริญญาเอก
เรียนเก่งระดับอัจฉริยะ
ชาลส์เข้ามามีบทบาทในชีวิต
การคาดการณ์โรค
โรคจิตเภท (Schyzophrenia)
สาเหตุ
ด้านร่างกาย
สารเคมีในสมองมีความผิดปกติ และจากโครงสร้างของสมองมีความผิดปกติเล็กน้อย
ด้านจิตใจ
ความเครียดในชีวิตประจำวัน
อาการและอาการแสดง
กลุ่มอาการที่เพิ่มมากกว่าคนปกติ
อาการหลงเชื่อผิด
คิดว่าคนอื่จะมาทำร้าย
ความคิดผิดปกติ
คิดแบบมีเหตุผลต่อเนื่องไม่ได้
คุยกับคนอื่นไม่เข้าใจ
ผู้ป่วยมักพูดไม่เป็นเรื่องเป็นราว พูดไม่ต่อเนื่อง เปลี่ยนเรื่องพูดโดยไม่มีเหตุผล
ประสาทหลอน
คิดว่ามีบางสิ่งเกิดขึ้น ทั้งๆที่ความจริงไม่มีสิ่งเหล่านั้นเกิดขึ้น
มีพฤติกรรมผิดปกติ
ทำร้ายผู้อื่น
อยู่ในท่าแปลกๆซ้ำๆ
หัวเราะหรือร้องไห้สลับกันเป็นพักๆ
กลุ่มอาการที่ขาดหรือบกพร่องไปจากคนปกติทั่วไป
เก็บตัว ซึม ไม่อยากพบปะผู้คน แยกตัวเอง
ไม่มีความคิดริเริ่ม เฉื่อยชาลง ไม่ทำงาน
พูดน้อย ใช้เวลานานกว่าจะตอบ แสดงออกทางอารมณ์ลดลงมาก
การรักษา
รักษาด้วยยา
การฟื้นฟูสภาพจิตใจ โดยฝึกเข้าสังคม และให้คำปรึกษาแก่ผู้ป่วย
การทำจิตบำบัด โดยผู้เชี่ยวชาญพูดคุยกับผู้้ป่วยเพื่อให้ผู้ป่วยเข้าใจตนเอง และปัญหาของตนเองมากขึ้น
ครอบครัวบำบัด เพื่อให้ผู้ป่วยมีเพื่อนคอยสนับสนุน ให้กำลังใจซึ่งกันและกัน
โรคจิตเภทชนิดหวาดระเเวง (Schyzophrenia paranoid)
สาเหตุ
ไม่เกี่ยวกับกรรมพันธุ์หรือพยาธิสภาพทางสมอง
เชื่อว่ามาจากปัจจัยทางจิตวิทยา
ความสัมพันธ์ระหว่างเด็กกับบิดามารดา
ทำให้ขาดความไว้วางใจต่อสภาพแวดล้อม
พยายามป้องกันตัวเองจากการถูกทำให้เจ็บหรือทำให้เดือดร้อน
ไม่เปิดเผย
ช่างวิจารณ์
ก้าวร้าว
ไม่มีอารมณ์หรือเย็นชา
มักใช้กลไกการป้องกันของจิตใจแบบปฏิเสธ หรือโทษผู้อื่น เพราะความต้องการหรือเเรงผลักดันในจิตไร้สำนึกทำให้เขารู้สึกผิดมาก จนยอมรับไม่ได้
มักอยู่ในครอบครัวที่ขาดความอบอุ่น
ครอบครัวมักมีลักษณะ sadism
ในวัยเด็กมักถูกห้าม ถูกจำกัดกิจกรรม
มักถูกทำโทษอย่างขาดเหตุผล
ไม่ได้รับความรัก ความสนใจ จากบิดา มารดา
ปัจจัยอื่นๆ
การย้ายที่อยู่
ความพิการทางหู
ความกดดันอย่างรุนเเรง
ลักษณะ
มักมีประวัตการขาดความไว้วางใจสิ่งแวดล้อม และขาดความมั่นใจในตนเอง
มักเป็นคนไม่ยืดหยุ่น ผ่อนปรน และระมัดระวังจนเกินไป
มักโต้แย้งกับผู้อื่นแรงๆ และขาดเหตุผล
มีประวัติการทำงานร่วมกับกลุ่มหรือผู้ใหญ่ลำบาก
ความหลงผิดของผู้ป่วยมักเป็นเรื่องธรรมดา หรือมีการแต่งเติมให้เหมือนจริง และมีความเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กัน
ผุ้ป่วยมักแสดงอาการขมขื่นหรือโกรธ ซึ่งอาจนำไปสู่ความรุนแรงได้
การตรวจสภาพจิตจะพบว่า ผู้ป่วยค่อนข้างฉลาดกว่าคนทั่วไป และสามารถพูดได้ดี เหตุผลและความเชื่อก็ดูถูกต้องและเป็นไปได้ การแสดงออกทางสีหน้า ดูหน้าเชื่อถือ
ในการสัมภาษณ์ระยะเเรก ผู้ป่วยอาจจะช่างพูด และพูดเร็ว แต่ต่อมาจะเริ่มปิดบัง และแสดงความหลงผิดออกมา
เชาวน์ปัญญา ความจำ การรับรู้เวลา สถานที่ และบุคคลปกติ
การรักษา
ยา
จิตบำบัด
โรคกลัวสังคม (Social anxiety disorder)
อาการและอาการแสดง
มีอาการประหม่า รู้สึกไม่สบายใจ อึดอัด กังวลใจ เมื่่ออยู่ในสถานการณ์ที่ผู้อื่นสังเกต จ้องมองตัวเอง
ใจสั่น
มือสั่น
เสียงสั่น
เหงื่อออกมาก
แตกต่างจากการตื่นเต้นธรรมดา คือจะมีอาการทุกครั้งที่ต้องตกอยู่ในสถานการณ์ต่างๆที่เป็นตัวกระตุ้นอาการ
สาเหตุ
เคยเจอสถานการณ์บางอย่างที่ทำให้รู้สึกแย่ จนฝังใจ
ผู้ป่วยโรคนี้มักมีอาการครั้งแรกในช่วงวัยรุ่น
เนื่องจากเป็นวัยที่ให้ความสำคัญกับการประเมินของผู้อื่นต่อตนเองค่อนข้างมาก
ผลกระทบ
มักกระทบต่องาน มักหลีกเลี่ยงการนำเสนองาน
หลีกเลี่ยงการพบผู็คน
การรักษา
ต้องประเมินตัวเองให้น้อยลง
หลีกเลี่ยงการคิดไปเองว่าผู้อื่นจะสนใจหรือจับผิด
ต้องการกำลังใจจากคนรอบข้าง
ไม่ควรใช้คำพูดที่กดดัน
ทำไมทำไม่ได้
แค่นี้เองต้องทำได้สิ
โรคจิตหลงผิด (Delusion disorder)
ประเภท
หลงผิดว่าบุคคลอื่นมาหลงรักตัวเอง โดยบุคคลนั้นมักเป้นผู้มีความสำคัญหรือมีชื่อเสียง (Erotomanic Type)
เชื่อว่าตนเองมีความสามารถเหนือกว่าผู้อื่น มีความหยั่งรู้พิเศษ (Grandiose Type)
หลงผิดคิดว่าคู่ครองของตนเองนอกใจ (๋Jealous Type)
ระเเวงว่าตนเองถูกกลั่นแกล้ง สะกดรอย หมายเอาชีวิต (Persecutory Type)
หลงผิดเกี่ยวกับร่างกายของตนเอง เช่นบางส่วนของร่างกายผิดรูปร่าง หรืออวัยวะไม่ำงาน (somatic Type)
ผลกระทบ
มักระเเวว่าตนเองถูกกลั่นแกล้ง สะกดรอย หมายเอาชีวิต
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมแยกตัวออกจากสังคม ส่งผลกระทบต่อการทำงานและคุณภาพชีวิตได้
ปัญหาครอบครัว
ปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
ด้านจิตใจ
เกิดจากการเลี้ยงดู ที่ไม่ได้รับความอบอุ่น ทำให้ไม่เชื่อใจใคร และมีความรู้สึกไวต่อท่าทีของผู้อื่น
ด้านสังคม
เครียด กดดัน
การแข่งขันสูง
การเอารัดเอาเปรียบ
ด้านชีวภาพ
สัมพันธ์กับสมองส่วนที่ควบคุมความเป็นเหตุผลและอารมณ์ ความรู้สึก
การรักษา
เน้นสัมพันธภาพในการรักษา
ไม่โต้แย้งคัดค้านอาการที่หลงผิดวาไม่จริง
ไม่สนับความเชื่อของผู้ป่วย
ยา
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
ประสาทหลอน
ควบคุมตนเองไม่ได้
ไม่เข้าสังคม
ด้านพฤติกรรม
กระสับกระส่าย อยู่ไม่นิ่ง
มองซ้ายมองขวาตลอดเวลา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เฉยเมย ไร้ความรู้สึก
การรักษา
ยารับประทาน
ยาฉีด
การทำให้ชักด้วยไฟฟ้า
สาเหตุ
ด้านครอบครัว
ครอบครัวมักตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขให้ดีขึ้น
ด้านพันธุกรรม
Neurotransmitters
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความเครียด
conflict
ความสามารถในกการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต ที่โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ