Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind, นางสาวนัทชา บุญภาค ห้อง 2A เลขที่41…
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind
ประวัติทั่วไป
ข้อมูลส่วนบุคคล
ผู้ป่วยชื่อ จอห์น ฟอบส์ แนช จูเนียร์ (Mr.John Forbes Nash,Jr.)
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติอเมริกัน สัญชาติอเมริกัน
ประวัติครอบครัว
มีภรรยาชื่อ อลิเซีย และมีลูกด้วยกัน 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
ความสัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยเป็นคนเก็บตัว
ผู้ป่วยมีความคิดหมกหมุ่นเกือบทำร้ายภรรยาและลูก
ผู้ป่วยไม่มีความรู้สึกไม่อยากมีเพศสัมพันธกับภรรยา
ผู้ป่วยมีความคิดหมกหมุ่นและพฤติกรรมที่แปลกๆ
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านครอบครัว
ครอบครัวตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขให้ดีขึ้น
ด้านสังคมและวัฒนกรรม
สภาพแวดล้อมรอบตัว
เป็นคนเก็บตัว ไม่มีเพื่อนสนิท
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านจิตใจ
ความขัดแย้งภายในจิตใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัว
ประสบการณ์ในอดีต
โดนเพื่อนแกล้งเป็นประจำ
อาการและอาการแสดง
หวาดระแวง
คิดว่าจะมีคนทำร้าย
มีคนสะกดรอยตาม
ประสาทหลอน
หูแว่ว ได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
คิดว่ามีคนอยู่ด้วยตลอดเวลา
คิดว่าจะมีคนมาทำร้าย
ควบคุมตนเองไม่ได้
ทำร้ายตนเอง
ทำร้ายบุคคลรอบตัว
ไม่ชอบเข้าสังคม
ไม่มีเพื่อน
ชอบอยู่คนเดียว
ด้านพฤติกรรม
เดิมหลังค่อม
มองซ้าย ขวา ตลอดเวลา
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
พยายามโต้ตอบกับใครบางคน
เฉยเมยไร้ความรู้สึก
การรักษา
การรักษาด้วยไฟฟ้า(Electroconvulsive Therapy)
กรณีผู้ป่วยไม่ตอบสนองต่อการักษาด้วยยา
ผู้ป่วยชนิด catatonic หรือผู้ป่วยที่มี severe depression ร่วมด้วย
การักษานั้นอาจแบ่งออกได้เป็น 2 ช่วง
1ระยะควบคมอาการ เป้าหมายคือควบคุมอาการให้สงมลงโดยเร็ว การที่อาการวุ่นวายสงบเป็นมาจากฤทธิ์ทำให้สงบของยา (sedating effct)
chlorpromazine 300-500มก./วัน
haloperidol 6-10 มก./วัน
2 ระยะให้ยาต่อเนื่อง หลังจากที่อาการสงบลงแล้ว้องได้รัยาต่อเนื่อง เพื่อ
ป้องกันมิให้กล้บมามีอาการกำเริ่บช้ำ
chlorpromazine 100-300มก./วัน
การรักษาด้านจิตสังคม
1)จิตบำบัด (psychotherapy) ใช้วิธีการของจิตบำบัดชนิดประดับประคอง ผู้รักษาพึงตั้ง
เป้าหมายตามที่เป็นจริงและผู้ป่วยสามารถนำไปปฏิบัติได้
2) การให้คำแนะนำแก่ครอบครัว (family counseling or psychoeducation)
3) กลุ่มบำบัด (group therapy) เป็นการจัดกิจกรรมกลุ่มระหว่างผู้ป่วย โดยส่งเสริมให้เกิด
ความรู้สึกว่ามีเพื่อน มีคนเข้าใจ ไม่โดดเตียว มีการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาและให้คำแนะนำแก่กัน ฝึกท้กษะทางสังคม เน้นการสนับสนุนให้กำลังใจ
4) นิเวศน์บำบัด (milleu therapy) เป็นการจัดสภาพแวดล้อมในโรงพยาบาลเพื่อช่วยส่งเสริม
ขบวนการรักษา ประกอบด้วย การจัดกิจกรรต่างๆ ภายในหอผู้ป่วย
ประเด็นที่สงสัย
ผู้ป่วยรายนี้สมควรได้รับการรักษาที่โรงพยาบาลหรือควรได้รับการรักษาที่บ้านโดยครอบครัว
คิดว่าควรได้รับการรักษาที่บ้านโดยครอบครัว เพราะครอบครัวเป็นที่ยึดเหนี่ยวจิตใจสำหรับผู้ป่วย แต่ต้องมีการไปพบแพทย์เป็นประจำตามนัดและกินยาอย่างต่อเนื่องควบคู่ด้วย
ความคิดหลงผิดกับภาพหลอนต่างกันอย่างไร
อาการหลงผิด เป็นความผิดปกติในเนื้อหาของความคิด
อาการประสาทหลอน เป็นการรับรู้ทางประสาทสัมผัสที่ผิดปกติ โดยไม่ได้มีสิ่งกระตุ้นจากภายนอก เช่น หูแว่ว ได้ยินเสียงพูดคุยเป็นเรื่องราว ทั้ง ๆ ที่ไม่มีใครพูด
ทำไมผู้ป่วยไม่กินยาต่อเนื่อง
ผลข้างเคียงจากยาทำให้ผู้ป่วยสมองตื้อ คิดอะไรไม่ออก มีปัญหาด้านสมรรถภาพทางเพศ
ครอบครัวจะมี่ส่วนช่วยในการรักษาผู้ป่วยอย่างไรบ้าง
มีส่วนช่วยในการดูแล สภาพจิตใจของผู้ป่วยเป็นยึดเหนี่ยวทางจิตใจ ให้ทำความเข้าใจและเปิดใจยอมรับกับโรค ช่วยทำให้แผนการรักษามีประสิทธิภาพมากขึ้นเช่นในการทานยาผู้ป่วย ดูแลให้ผู้ป่วยกินยาอย่างต่อเนื่อง เป็นต้น
คาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคจิตเภท(Schizophrenia)
โรคจิตเภท (Schizophrenia) หมายถึง เป็นโรคที่มีความผิดปกติของความคิด (thought) เป็นอาการเด่น แต่มี
ผลถึงการรับรู้(perception) อารมณ์(affect) และพฤติกรรม(behavior)
สาเหตุ
ด้านพันธุกรรม
ด้านชีวเคมีในสมอง
ด้านจิตใจ
ด้านสังคมและวัฒนธรรม
อาการที่สำคัญของโรคจิตเภท
มีความผิดปกติของความคิด
รูปแบบความคิดผิดปกติ(Disorder of form)
เวลารับฟังผู้ป่วยพูดหรือตอบคำถามเพราะ
คำพูดจะไม่ต่อเนื่องกันเป็นเรื่องราว
เนื้อหาความคิดผิดปกติ (Disorder of content)
:red_flag:ความผิดปกติของการคิด โดยขาดการเชื่อมโยงกับสิ่งที่เป็นจริงและเหตุผลผู้ป่วยจะมีความคิด
เข้าหาตนเอง (autism) ไม่มองสิ่งแวดล้อม จนในที่สุดมี
อาการหลงผิด (delusion)
Delusion of persecution หลงผิดคิดว่า ผู้อื่นปองร้าย
Delusion of persecution หลงผิดคิดว่าผู้อื่นปองร้าย
Delusion ofbeing controlled หลงผิดคิดวา่ การกระทำ ของตนถูกควบคุมโดยอำนาจภายนอก
Delusion of somatic หลงผิดคิดว่าตนเจ็บป่วยทางร่างกาย
Delusion of grandeur หลงผิดคิดว่า ตนเป็นใหญ่
Delusion ofnihilistic หลงผิดคิดว่า ส่วนใดส่วนหนึ่งของร่างกายขาดหายไป
มีความผิดปกติของการรับรู้
:red_flag:อาการที่พบได้บ่อยได้แก่
อาการประสาทหลอน
(Hallucination)
เป็นการรับรู้โดยที่ไม่มีสิ่งมากระตุ้นจากภายนอก
Alfactory hallucination อาการประสาทหลอนทางการไดก้ลิ่นรู้สึกกลิ่นแปลกๆ
Gastatory hallucination อาการประสาทหลอนทางการรับรสรู้สึกรสแปลกๆ
Auditory hallucination อาการประสาทหลอนทางการได้ยิน หรือหูแว่ว
Visual hallucination อาการประสาทหลอนทางการเห็น ภาพหลอน เห็นภาพเป็นคนหรือ
สิ่งของ บางรายเห็นภาพคนจะมาทำร้าย
Tactile hallucination อาการประสาทหลอนทางการสัมผัส
มีความผิดปกติของอารมณ์
Apathy ผู้ป่วยจะมีอารมณ์เฉยเมยไม่แสดงความรู้สึกใด ๆ ไม่มีปฏิกิริยาโต้ตอบต่อการ
เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
Appropriate mood แสดงอารมณ์ไม่สอดคล้อง
มีความผิดปกติของพฤติกรรมการเคลื่อนไหว
Steriotypy เป็นการกระทำซ้ำเกิดข้ึนเองเรื่อยๆและสม่าเสมอ
Catalepsy ผู้ป่วยอยใู่นท่าใดท่าหนึ่งนานๆ
Waxy flexibility คล้าย Catalepsy ถ้าจับให้ผู้ป่วยอยใู่นท่าใดท่าหนึ่งก็จะคงอยู่ในท่านั้นเป็น
เวลานาน
Stupor ผู้ป่วยไม่มีการเคลื่อนไหว
Mutism ผู้ป่ วยไม่พดู
ชนิทของโรคจิตเภท
. Paranoid Type มีความหมกมุ่นอยู่กับอาการหลงผิด หรือหูแว่ว
Residual Type เก็บตัว เฉือยชา ไม่สนใจตัวเอง
การวินิจฉัย
มีลักษณะอาการต่อไปนี้ 2 อาการขึ้นไป นาน 2 เดือน
อาการหลงผิด
อาการประสาทหลอน
disorganized speech
ความผิดปกติของกระบวนการคิด
negative symptoms
alogia
Flat effect
Avolition
มีความเสื่อมหรือปัญหาในด้านการงาน สัมพันธภาพและการดูแลสุขอนามัยตนเองตนเอง
มีอาการต่อเนื่องกันนาน 6 เดือนขึ้นไปโดยต้องมีอาการแสดงข้างต้นอย่างน้อย 1 เดือน
กฎหมายพ.ร.บ
พระราชบัญญัติสุขภาพจิตพ.ศ.2551เล่มที่125 ตอนที่ 36 ก สิทธิผู้ป่วยหมวดที่ 2
มาตรา 18 การรักษาทางจิตเวชด้วยไฟฟ้า การกระทำต่อสมองหรือระบบประสาทหรือการบำบัดรักษาด้วยวิธีอื่นใด ที่อาจเป็นผลทำให้ร่างกายไม่อาจกลับคืนสู่สภาพเดิมอย่างถาวรให้กระทำได้ในกรณีดังต่อไปนี้
2 กรณีเหตุฉุกเฉินหรือความจำเป็นอย่างยิ่ง เพื่อประโยชน์ของผู้ป่วยหากมิได้บำบัดรักษาจะเป็นอันตรายถึงแก่ชีวิตของผู้ป่วย ทั้งนี้ โดยความเห็นชอบเป็นเอกฉันท์ของคณะกรรมการสถานบำบัดรักษา
1กรณีผู้ป่วยยิมยอมเป็นหนังสือเพื่อการบำบัดรักษานั้น โดยผู้ป่วยได้รับทราบเหตุผลความจำเป็น ความเสี่ยงที่อาจเกิดภาวะแทรกซ้อนที่เป็นอันตรายร้ายแรงหรืออาจเป็นผลทำให้ไม่สามารถแก้ไขร่างกายกลับคืนสู่สภาพเดิม และประโยชน์ของการบำบัดรักษา
มาตรา 15 ผู้ป่วยยอมมีสิทธิดังต่อไปนี้
(1) ได้รับการบำบัดรักษาตามมาตรฐานทางการพทย์ โคยคำนึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์
(2) ได้รับการปกปิดข้อมูลเกี่ยวกับการเจ็บปวยและการบำบัดรักษาไว้เป็นความลับ เว้นแต่มื
กฏหมายบัญญัติไว้ให้เปิดเผยได้
(3) ได้รับการลุ้มครองจากการวิจัยตามมาครา ๒๐
(4).ได้รับการคุ้มครองในระบบประกันสุขภพละประกันสังคม และระบบอื่นๆ ของรัฐอย่างเสมอภาคและเท่าเทียมกัน
มาตรา16 หัมมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อมูลค้นสุขภาพของผู้ป่วยในประการที่น่าจะทำให้เกิดความเสียหายเก่ผู้ป่วย เว้นแต่
(1) ในกรณีที่อาจเกิดอันตรายต่อผู้ป่วยหรือผู้อื่น
(2) เพื่อความปลอดภัยของสาธารณชน
(3) มึกฎหมายฉพาะบัญญัติให้ต้องเปิดเผย
มาครา 17 การบำบัดรักษาด้วยการผูกมัดร่างกาย การกักบริเวณ หรือแยกผู้ป่วยจะกระทำไม่ได้ งั้นแต่ป็นความจำป็นพื่อป้องกันการกิดอันตรายต่อผู้ป้วของ บุคคลอื่น หรือทรัพย์สินของผู้อื่นโดยต้องอยู่ภายใต้การดูแลอย่างใกล้ชิดของผู้บำบัดรักษาตามมาตรฐานวิชาชีพ
พัฒนาการตามช่วงวัย
ในวัยเด็ก
ชอบเก็บตัว
ไม่มีเพื่อนสนิทและมักมีปัญหาในการปรับตัวให้เข้ากับเพื่อน
ผู้ป่วยเรียนเก่ง
ไม่ชอบกิจกรรมนันทการแต่มีความสนใจในด้านวิทยาศาสตร์และทำการทดลองด้วยตนเองตั้งแต่อายุ 12 ปี
ช่วงวัยรุ่น
ผู้ป่วยหันมาสนใจทางด้านคณิตศาสตร์และมุ่งมั่นในการเรียน
ผู้ป่วยเริ่มมีบุคลิกที่ดูแตกต่างจากผู้อื่นอย่างเห็นได้ชัด
ชาร์ลอยู่กับเขาตลอดและเป็นเพื่อนคนเดียวที่สามารถพูดคุย
เรียนปริญญาเอก
มีความโดดเด่นทางด้านการเรียนในระดับอัจฉริยะ
เริ่มมีความคิดหมกหมุ่นและมีพฤติกรรมแปลกๆเพิ่มขึ้น
พบว่าชาร์ลเริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิตเขา
ให้กำลังใจและคอยอยู่เป็นเพื่อนผู้ป่วยเสมอ
นางสาวนัทชา บุญภาค ห้อง 2A เลขที่41 รหัส 613601042
อ้างอิง
นิตยา ศรีจำนง. (2556). การพยาบาลผู้ทีมีความผิดปกติทางด้านความคิดและการรับรู้: การพยาบาลผู้ป่วยจิตเภท(Nursing intervention inSchizophrenia). สืบค้น 23 มิถุนาย2563จาก
https://www.google.com/search?E0(Nursing+intervention+inSchizophrenia)&aqs=chrome..69i57.2077j0j7&sourceid=chrome&ie=UTF
:
มาโนช หล่อตระกูล. (2563). โรคจิตประเภท(Schizophrenia). สืบค้น 24 มิถุนายน พ.ศ.2563จาก
https://med.mahidol.ac.th/ramamental/sites/default/files/public/pdf/%E0%B9%82%E0%B8%A3%E0%B8%84%E0%B8%88%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%20%28Schizophrenia%29.pdf