Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะสูดสำลักขี้เทา (Meconium Aspiration syndrome) - Coggle Diagram
ภาวะสูดสำลักขี้เทา (Meconium Aspiration syndrome)
สาเหตุ
เกิดจากการขาดออกซิเจนของทารกทำใหทารกหายใจเอาขี้เทาที่ตนเองถ่ายไว้เข้าไป
อาการและอาการแสดง
ปลายมือปลายเท้าและรอบปากเขียว
หน้าอกโป่งเวลาหายใจเข้าออกหน้าอกจะบุ๋ม
ขี้เทาจะไปอุดตามหลอดลมและถุงลมในปอดของทารก ทำให้ทารกหายใจเร็วกว่าปกติเล็กน้อย เป็นเวลา 2-3วันหลังคลอด หรือบางรายอาจหายใจเร็วมากกว่า 60 ครั้งต่อนาที
ฟังปอดพบเสียงralesและ rhonchi เสียงลมหายใจเข้าเบาลง เสียงหัวใจคอยลง
ภาพรังสีของปอดพบปอดทึบพบสารน้ำในช่องเยื่อหุ้มปอด
สายสะดือมีสีเหลือง
(yellowish staining)
แนวทางการรักษา
ดูดขึ้เทาและน้ำคร่ำออกจากปากและจมูกของทารกให้มากที่สุดก่อนทารกหายใจ
หากมีขี้เทาในน้ำคร่ำประกอบกับทารกหายใจช้า ความตึงตัวของกล้ามเนื้อไม่ดี และ HR<100 ครั้งต่อนาที พิจารณาใส่ ETT เพื่อดูดขี้เทาออก
ภายหลังการดูดขี้เทาในหลอดลมควรใส่สายยางดูดขี้เทาจากกระเพาะอาหารด้วย
ในรายที่มี asphyxia โดยทำการดูดขี้เทาก่อนช่วยด้วยแรงดันบวก และดูดออกให้มากที่สุด
งดอาหารและน้ำทางปาก ดูแลให้10% Dextros in
water ทางหลอดเลือดดำ
ตรวจ arterial blood gas เพื่อประเมินภาวะความเป็นกรดของเลือด
ให้ยาปฏิชีวนะเพื่อกำจัดเชื้อที่ปนเข้าไปกับขี้เทา
บทบาทการพยาบาล
สังเกตอาการผิดปกติโดยเฉพาะการหายใจมากกว่า 60 ครั้งต่อนาที ให้รายงานแพทย์
บอกถึงอาการและความก้าวหน้าของการรักษาพยาบาลทารกให้มารดาและบิดาทราบ
รักษาร่างกายทารกให้อบอุ่นโดยจัดให้นอนในradiant warmer ที่อุณหภูมิ 36.5-37องศาเซลเซียส
ให้ลูกสูบยางแดงหรือสาย suction ขนาดเล็ก ดูดขี้เทาและน้ำคร่ำจนกว่าจะหมด
กระตุ้นให้ร้องและดูแลให้ออกซิเจน
จัดให้ทารกนอนตะแคงศีรษะต่ำเล็กน้อย หรือตะแคงหน้าไปด้านใดด้านหนึ่ง