Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาพยนต์สั้น เรื่อง A beautiful mind - Coggle Diagram
ภาพยนต์สั้น เรื่อง
A beautiful mind
สาเหตุ
ด้านจิตใจ
ความเครียด
ความสามารถในการปรับตัว
โดนเพื่อนแกล้ง
ด้านพันธุกรรม
สารสื่อประสาทในสมอง
ด้านสังคม
สิ่งแวดล้อมรอบตัว
เป็นคนเก็บตัว
ไม่มีสัมพันธภาพกับผู้อื่น
ด้านครอบครัว
ครอบครัวตำหนิ
สภาพครอบครัวไม่เหมาะสมในการแก้ไขปัญหา
อาการ
เห็นภาพหลอน
หูแว่วได้ยินเสียงคนสั่งให้ทำตาม
เครียดแล้วมักทำร้ายตัวเอง
กระสับกระส่าย เดินไปเดินมา
หวาดกลัว คนแปลกหน้า
ชอบอยู่คนเดียว
คิดว่ามีคนมาทำร้าย
ทำร้ายตัวเอง
ทำร้ายบุลคลอื่น
พยายามโต้ตอบใครบางคน
มองซ้ายมองขวา ตลอดเวลา
การรักษา
ยาฉีด
การรักษาด้วยไฟฟ้า
ยารับประทาน
รักษาให้ผู้ป่วยเป็นศูนย์กลาง
ประวัติทั้วไป
ประวัติครอบครัว
มีลูก 1คน
มีภรรยา 1 คน
มีน้องสาว 1 คน
ข้อมูลส่วนบุลคล
อายุ 24 ปี
เชื้อชาติ อเมริกัน
ผู้ป่วยชื่อ นายจอร์น ฟอบส์ แนช จูนเนียร์
ความสัมพันธภาพในครอบครัว
ผู้ป่วยมีความหมกหมุ่น
ผู้ป่วยไม่รู้สึกอยากมีเพศสัมพันธ์
ผู้ป่วยเก็บตัว
ผู้ป่วยมีพฤติกรรมต่างๆ
คาดการณ์โรคที่เกี่ยวข้อง
โรคประสาทหลอน (Hallucination)
ความหมาย
อาการทางประสาทที่ทำให้เห็นภาพ ได้ยินเสียง ได้กลิ่น รับรู้รสชาติ หรือเกิดความรู้สึก ทั้งที่ในความเป็นจริงไม่มีสิ่งเหล่านี้เกิดขึ้น
สาเหตุ
โรคทางระบบประสาทและสมอง เช่น โรคพาร์กินสัน
โรคสุขภาพกายอื่น ๆ เช่น มีไข้สูง
การพักผ่อนไม่เพียงพอ
สารเสพติดและแอลกอฮอล์
ยารักษาโรคบางชนิด
อาการ
อาการหูแว่ว
ประสาทหลอนทางการได้กลิ่น
ประสาทหลอนทางการรับรส
ประสาทหลอนทางการสัมผัส
เห็นภาพหลอน
การรักษา
ผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับการมองเห็น
การให้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิต
การรักษาด้วยยา
โรคจิตหลงผิด (Delusional Disorder)
สาเหตุ
ปัจจัยทางสภาพแวดล้อมและจิตใจ
ผู้อพยพจากต่างถิ่น
ปัจจัยอื่น ๆ
การดื่มแอลกอฮอล์และการใช้สารเสพติด
ปัจจัยทางชีวภาพ
สมองทำงานผิดปกติ
ความหมาย
ภาวะทางจิตที่ร้ายแรง โดยผู้ป่วยจะมีอาการหลงผิดไปจากความเป็นจริงเป็นเวลามากกว่า 1 เดือน ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่มักดูเป็นปกติและไม่มีพฤติกรรมที่แปลกประหลาด มีเพียงความเข้าใจผิดในบางเรื่อง
แบ่ง 7 ประเภท
Erotomantic Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดว่าบุคคลอื่นมาหลงรักหรือเป็นคู่รักของตนเอง ซึ่งผู้ป่วยส่วนใหญ่มักเข้าใจผิดว่าคนที่มีฐานะทางสังคมสูงกว่าอย่างบุคคลสำคัญหรือดารามาหลงรักตนในเชิงชู้สาว โดยผู้ป่วยอาจพยายามติดต่อสื่อสาร หรือสะกดรอยตามบุคคลนั้นด้วย
Jealous Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดว่าคู่รักของตนนอกใจ โดยผู้ป่วยอาจคิดไปเองและระแวงว่าคนรักของตนกำลังนอกใจ
Somatic Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดเกี่ยวกับร่างกายของตนเอง ผู้ป่วยอาจเชื่อว่าร่างกายมีความผิดปกติ เช่น มีกลิ่นเหม็น มีแมลงคลานอยู่บนผิวหนัง หรือคิดว่าตนกำลังทุกข์ทรมานจากโรคร้าย เป็นต้น
Mixed Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดแบบผสม ผู้ป่วยจะมีอาการหลงผิดมากกว่า 1 อาการข้างต้น โดยไม่มีเรื่องใดที่เด่นชัดออกมา
Grandiose Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดว่าตนมีความสามารถเกินความจริง ผู้ป่วยอาจเข้าใจผิดว่าตนเองมีความสามารถพิเศษ มีความรู้ พลัง อำนาจ และมีความเกี่ยวข้องใกล้ชิดกับบุคคลสำคัญหรือพระเจ้า
Unspecified Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดแบบไม่ระบุเจาะจง ผู้ป่วยอาจไม่ได้มีความเข้าใจผิดในเรื่องที่กล่าวมาข้างต้น หรือไม่สามารถระบุความหลงผิดนั้นได้อย่างชัดเจน
Persecutory Delusional Disorder หรือโรคหลงผิดว่าถูกปองร้าย เป็นประเภทที่มักพบได้บ่อยที่สุด ผู้ป่วยอาจมีความเชื่อว่าตนเองกำลังถูกสะกดรอยตาม ถูกหักหลัง ถูกกลั่นแกล้ง หรือทารุณกรรม
การรักษา
ยากล่อมประสาท
ยาต้านเศร้า
ยาระงับอาการทางจิต
ยาอื่น ๆ แพทย์อาจใช้ยาชนิดอื่น ๆ
จิตบำบัด
การบำบัดส่วนบุคคล
การบำบัดเพื่อช่วยปรับทัศนคติต่อสิ่งแวดล้อมและการมีปฏิสัมพันธ์
การบัดบัดแบบครอบครัว
การเข้าร่วมกลุ่มช่วยเหลือตนเอง
ประเด็นที่สงสัย
ผลข้างเคียงของยามีอะไรบ้าง
ผู้ป่วยได้รับการรักษาด้วยยา ชนิดใด
ทำไมถึงคิดว่ามีคนทำร้าย
ผลกระทบอะไรบ้างที่เกิดกับผู้ป่วยรายนี้
ความคิดหลงกับภาพหลอนต่างกันอย่างไร
ทำไมผู้ป่วยไม่กินยาต่อเนื่อง
พัฒนาการตามช่วงวัย
ช่วงวัยรุ้น
เริ่มมีบุคลิกที่แตกต่าง
ชาร์ลอยู่กับเขาตลอดสามารุพูดคุยได้
สนใจคณิตศาสตร์
เรียนปริญญาเอก
โดนเด่นเรื่องเรียน ระดับอัจฉริยะ
เรืิ่มมีความคิดหมกมุ่น
มีพฤติกรรมแปลกๆ
พบว่าชาร์ลเริ่มเข้ามามีบทบาทในชีวิต
วัยเด็ก
ไม่มีเพื่อน
เรียนเก่ง
ชอบเก็บตัว
ไม่ชอบกิจกรรมนันทการ
มีปัญหาในการปรับตัวกับเพื่อน
ทำการทดลองวิทยาศาสตร์ด้วยตนเอง อายุ12ปี
พระราชบัญญัติสุขภาพจิต พ.ศ.2551
บุคคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22
มีภาวะอันตราย
ก้าวร้าว
ทำร้ายตนเองและผู้อื่น
ทำลายข้าวของ
มีความจำเป็นต้องได้รับการบำบัดรักษา
มีความเจ็บป่วยกิดขึ้น แต่ไม่ยินยอมเข้ารับการบำบัดรักษา
ขั้นตอนดำเนินงาน
แจ้ง:แจ้งเจ้าหน้าที่ เพื่อนำส่งสถานพยาบาล
ตรวจ:สถานพยาบาลต้องประเมินอาการและวินิจฉัยเบื้องต้นภายใน 48 ชม.
เจอ:เมื่อพบบุลคลที่มีความผิดปกติทางจิตตามมาตรา 22
ส่ง:ส่งรักษาในสถานบำบัด